ออบอดอน (ประเทศอิหร่าน)

ออบอดอน (เปอร์เซีย: آبادان, ออกเสียง: [ʔɒːbɒːˈdɒːn]) เป็นเมืองและเมืองหลักในเทศมณฑลออบอดอน จังหวัดฆูเซสถาน ประเทศอิหร่าน ตั้งอยู่บนเกาะออบอดอน โดยทางตะวันตกติดกับแอร์แวนและทางตะวันออกติดกับแบฮ์แมนชีร์ของแม่น้ำคอรูน ซึ่งอยู่ห่างจากอ่าวเปอร์เซีย 53 กิโลเมตร (33 ไมล์)[3]

ออบอดอน
เมือง
ออบอดอนตั้งอยู่ในประเทศอิหร่าน
ออบอดอน
ออบอดอน
ที่ตั้งในประเทศอิหร่านและทวีปเอเชีย
ออบอดอนตั้งอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย
ออบอดอน
ออบอดอน
ออบอดอน (อ่าวเปอร์เซีย)
พิกัด: 30°20′21″N 48°18′15″E / 30.33917°N 48.30417°E / 30.33917; 48.30417 48°18′15″E / 30.33917°N 48.30417°E / 30.33917; 48.30417
ประเทศ อิหร่าน
จังหวัดฆูเซสถาน
เทศมณฑลออบอดอน
อำเภอกลาง
การปกครอง
 • นายกMahmood Reza Shirazi[1]
พื้นที่
 • เขตเมือง1,275 ตร.กม. (492 ตร.ไมล์)
ความสูง3 เมตร (10 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน พ.ศ. 2559)
 • ความหนาแน่น167 คน/ตร.กม. (430 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง[2]231,476 คน
 • อันดับประชากรในประเทศอันดับที่ 40
เขตเวลาUTC+03:30 (เวลามาตรฐานอิหร่าน)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+04:30 (เวลาออมแสงอิหร่าน)
รหัสพื้นที่(+98) 061
ภูมิอากาศBSk
เว็บไซต์www.Abadan.ir

ภูมิประเทศ

ภูมิอากาศ

ภูมิอากาศในออบอดอนนั้นแห้งแล้ง (ภูมิอากาศแบบทะเลทรายเขตอบอุ่น (BWh) ตามการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน) และคล้ายกับแบกแดด แต่ร้อนกว่าเล็กน้อยเนื่องจากออบอดอนอยู่ในละติจูดที่ต่ำกว่า ฤดูร้อนอากาศแห้งและร้อนจัด โดยมีอุณหภูมิสูงกว่า 45 °C (113 °F) เกือบทุกวัน และอุณหภูมิที่สูงกว่า 50 °C (122 °F) อาจพบได้ทั่วไป ออบอดอนเป็นหนึ่งในสถานที่ที่มีผู้อยู่อาศัยที่มีอากาศร้อนมากที่สุดเพียงไม่กี่แห่งในโลก ประสบกับพายุทรายและพายุฝุ่นไม่บ่อยครั้งต่อปี ฤดูหนาวมีความชื้นเล็กน้อยและอากาศเหมือนฤดูใบไม้ผลิ แม้ว่าจะมีอากาศหนาวเย็น ฤดูหนาวอุณหภูมิอยู่ที่ประมาณ 16–20 °C (61–68 °F) อุณหภูมิที่ไม่ได้รับการยืนยันที่สูงที่สุดในโลกคืออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นอย่างฉับพลันระหว่างการเกิดเบิสต์แบบความร้อน (Heat burst) ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2510 โดยมีอุณหภูมิ 86.7 °C (188.1 °F)[4] อุณหภูมิต่ำสุดที่บันทึกไว้ของเมืองคือ −4 °C (25 °F) เมื่อ 20 มกราคม พ.ศ. 2507 และ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 ขณะที่สูงสุดคือ 53 °C (127 °F) บันทึกเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2494 และ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2524[5]

ข้อมูลภูมิอากาศของออบอดอน (ค.ศ. 1951–2010)
เดือนม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย.ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F)29.0
(84.2)
34.0
(93.2)
39.2
(102.6)
42.8
(109)
48.4
(119.1)
52.0
(125.6)
53.0
(127.4)
53.0
(127.4)
49.4
(120.9)
43.2
(109.8)
37.0
(98.6)
29.8
(85.6)
53
(127.4)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F)18.1
(64.6)
20.9
(69.6)
25.9
(78.6)
32.2
(90)
39.2
(102.6)
43.8
(110.8)
45.4
(113.7)
45.4
(113.7)
42.5
(108.5)
36.1
(97)
26.8
(80.2)
19.9
(67.8)
33.0
(91.4)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F)12.7
(54.9)
15.0
(59)
19.4
(66.9)
25.2
(77.4)
31.2
(88.2)
35.2
(95.4)
36.7
(98.1)
36.3
(97.3)
33.0
(91.4)
27.5
(81.5)
20.0
(68)
14.3
(57.7)
25.5
(77.9)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F)7.3
(45.1)
9.1
(48.4)
13.0
(55.4)
18.1
(64.6)
23.3
(73.9)
26.5
(79.7)
28.0
(82.4)
27.3
(81.1)
23.4
(74.1)
18.9
(66)
13.2
(55.8)
8.7
(47.7)
18.1
(64.6)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F)-4.0
(24.8)
-4.0
(24.8)
-1.0
(30.2)
7.0
(44.6)
12.0
(53.6)
17.0
(62.6)
17.0
(62.6)
19.4
(66.9)
14.0
(57.2)
7.0
(44.6)
-1.6
(29.1)
-1.0
(30.2)
−4.0
(24.8)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว)35.5
(1.398)
20.0
(0.787)
19.2
(0.756)
14.4
(0.567)
3.2
(0.126)
0.1
(0.004)
0.0
(0)
0.0
(0)
0.1
(0.004)
3.9
(0.154)
20.5
(0.807)
36.4
(1.433)
153.3
(6.035)
ความชื้นร้อยละ70615144332628313445586945
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย4.73.43.32.20.90.00.00.00.00.62.64.622.3
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด180.6195.0222.3221.6262.9292.1305.1290.4290.4263.4202.4182.52,908.7
แหล่งที่มา: Iran Meteorological Organization (บันทึก),[5] (อุณหภูมิ),[6] (หยาดน้ำฟ้า),[7] (ความชื้น),[8] (วันที่มีหยาดหยาดน้ำฟ้า),[9] (แสงแดด)[10]

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Abrahamian, Ervand (2008). A History of Modern Iran. Cambridge, UK: Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-52891-7.
  • Axworthy, Michael (2013). Revolutionary Iran: A History of the Islamic Republic. Oxford, UK: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-932226-8.
  • Burt, Christopher C. (2004). Extreme Weather: A Guide & Record Book. New York, NY: W. W. Norton & Company. ISBN 978-0-393-32658-1.
  • Chelkowski, Peter (1991). "21: Popular Entertainment, Media and Social Change in Twentieth-century Iran". ใน Avery, Peter; Hambly, Gavin; Melville, Charles (บ.ก.). The Cambridge History of Iran. Vol. 7. Cambridge, UK: Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-20095-0.
  • Daniel, Elton L. (2001). The History of Iran. Westport, CT: Greenwood Press. ISBN 978-0-313-30731-7. ISSN 1096-2905. LCCN 00-033132.
  • Elwell-Sutton, L. P.; de Planhol, X. (1982). "Ābādān". ใน Yarshater, Ehsan (บ.ก.). Encyclopædia Iranica. Vol. I. Routledge & Kegan Paul. pp. 51–57. ISBN 978-0710090904. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 May 2014. สืบค้นเมื่อ 6 August 2014.
  • Ferrier, Ronald (1991). "18: The Iranian Oil Industry". ใน Avery, Peter; Hambly, Gavin; Melville, Charles (บ.ก.). The Cambridge History of Iran. Vol. 7. Cambridge, UK: Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-20095-0.
  • Greaves, Rose (1991). "11: Iranian Relations with Britain and British India, 1798–1921". ใน Avery, Peter; Hambly, Gavin; Melville, Charles (บ.ก.). The Cambridge History of Iran. Vol. 7. Cambridge, UK: Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-20095-0.
  • Hein, Carola; Sedighi, Mohamad (2016). "Iran's Global Petroleumscape: The Role of Oil in Shaping Khuzestan and Tehran". Architectural Theory Review. 21 (3): 349–374. doi:10.1080/13264826.2018.1379110.
  • Hoeschel, David; Heracleensis, Marcianus; von Karyanda, Skylax; Messenius, Dicaearchus; Characenus, Isidorus (1600). Geographica Marciani Heracleotae, Scylacis caryandensis, artemidoriephesii, dicaearchi messenii, isidori characeni. Augsburg.
  • Hoiberg, Dale H., บ.ก. (2010). "Ābādān". Encyclopædia Britannica. Vol. 1 (15th ed.). Chicago, Illinois: Encyclopædia Britannica, Inc. pp. 6–7. ISBN 978-0-85229-961-6. LCCN 2002113989.
  • Issawi, Charles (1991). "16: European Economic Penetration, 1872–1921". ใน Avery, Peter; Hambly, Gavin; Melville, Charles (บ.ก.). The Cambridge History of Iran. Vol. 7. Cambridge, UK: Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-20095-0.
  • Keddie, Nikki R. (2003). Modern Iran: Roots and Results of Revolution (Revised ed.). New Haven, CT: Yale University Press. ISBN 978-0-300-09856-3.
  • Lagassé, Paul, บ.ก. (2000). "Abadan". The Columbia Encyclopedia (6th ed.). New York, NY: Columbia University Press. ISBN 978-0-7876-5015-5. LCCN 00-027927.
  • MacPherson, Angus (1989). "3: The Economy". ใน Metz, Helen Chapin (บ.ก.). Iran: A Country Study. Area Handbook Series (4th ed.). Washington, DC: Government Printing Office.
  • Mather, Yassamine (19 November 2009). "Workers organise against regime". Weekly Worker. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 March 2016. สืบค้นเมื่อ 6 August 2014.
  • Melamid, Alexander (1997). "Abadan". ใน Johnston, Bernard (บ.ก.). Collier's Encyclopedia. Vol. I (1st ed.). New York, NY: P. F. Collier.
  • NOAA (2013). "Abadan Climate Normals 1961–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ 6 August 2014.
  • Satrapi, Marjane (2003). Persepolis: The Story of a Childhood. New York, NY: Pantheon Books. ISBN 978-0-375-71457-3.
  • Vadahti, M. (2006). "سرشماري عمومي نفوس و مسكن 1385 (بدون احتساب خانوارهاي موسسه اي و غيرساكن)" [Census of Population and Housing 1385 (excluding institutional households and nomads)]. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (Excel)เมื่อ 11 November 2011.
  • Wilber, Donald N. (1984) [1948]. Iran: Past and Present: From Monarchy to Islamic Republic (9th ed.). Princeton, NJ: Princeton University Press. ISBN 978-0-691-00025-1.

อ่านเพิ่ม

  • Axworthy, Michael (2008). A History of Iran: Empire of the Mind. New York: Basic Books. ISBN 978-0-465-00888-9.

แหล่งข้อมูลอื่น


🔥 Top keywords: หน้าหลักเอฟเอคัพองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อสมทสโมสรฟุตบอลเชลซีสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดพระบรมสารีริกธาตุพิเศษ:ค้นหาสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีเฟซบุ๊กไบเออร์ 04 เลเวอร์คูเซินสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีการแข่งขันระหว่างสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลกับสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดหอแต๋วแตก (ภาพยนตร์ชุด)สโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลาเฮลล์คิทเช่นไทยแลนด์สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโบรุสซีอาดอร์ทมุนท์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาอสุภญีนา ซาลาสสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลยูเวนตุสเอซี มิลานนางทาสหัวทองโอลด์แทรฟฟอร์ดยลดา สวนยศคิม ซู-ฮย็อนสโมสรฟุตบอลเวสต์แฮมยูไนเต็ดอามาด ดียาโลสโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตีชาลี ไตรรัตน์สโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็งประเทศไทยสโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์