บาลงดอร์

รางวัลสำหรับนักฟุตบอลอาชีพชาย

บาลงดอร์ (เสียงอ่านภาษาฝรั่งเศส: [balɔ̃ dɔʁ] ( ฟังเสียง); แปลว่าลูกบอลทองคำ; อังกฤษ: Ballon d'Or) เป็นรางวัลที่มอบให้แก่นักฟุตบอลที่มีผลงานยอดเยี่ยมที่สุดในรอบปี มอบโดยนิตยสารข่าวฝรั่งเศส ฟร็องส์ฟุตโบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ระหว่างปี ค.ศ. 2010 ถึง 2015 รางวัลดังกล่าวได้ถูกรวมเข้ากับนักฟุตบอลยอดเยี่ยมของโลกแห่งปี (ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1991) เป็นการชั่วคราว ตามข้อตกลงกับฟีฟ่า และเป็นที่รู้จักในชื่อรางวัลฟีฟ่าบาลงดอร์ ความร่วมมือดังกล่าวสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 2016 และรางวัลดังกล่าวเปลี่ยนกลับไปเป็นบาลงดอร์ ในขณะที่ฟีฟ่าก็เปลี่ยนกลับไปเป็นรางวัลนักฟุตบอลชายยอดเยี่ยมของฟีฟ่าแยกต่างหาก ผู้ได้รับรางวัลฟีฟ่าบาลงดอร์ ถือเป็นผู้ชนะที่ได้รับรางวัลจากทั้งสององค์กรร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วบาลงดอร์ถือเป็นรางวัลบุคคลอันทรงเกียรติและทรงคุณค่าที่สุดของฟุตบอล[2] อย่างไรก็ตาม นักวิจารณ์ได้กล่าวถึงรางวัลนี้ว่าเป็น "การประกวดความนิยม" โดยวิพากษ์วิจารณ์กระบวนการลงคะแนนเสียง และการให้รางวัลเฉพาะตัวบุคคลแยกจากระบบในกีฬาประเภททีม[3][4][5][6][7][8]

บาลงดอร์
ถ้วยรางวัลบัลลงดอร์
วันที่1956; 68 ปีที่แล้ว (1956)
ประเทศฝรั่งเศส
จัดโดยฟร็องส์ฟุตโบล
รางวัลแรก1956
ผู้ดำรงตำแหน่งปัจจุบันอาร์เจนตินา ลิโอเนล เมสซิ
(ครั้งที่ 8)
รางวัลมากที่สุดอาร์เจนตินา ลิโอเนล เมสซิ
(8 ครั้ง)
เสนอชื่อมากที่สุดโปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด
(18 ครั้ง)[1]
เว็บไซต์francefootball.fr
← 2022 ·บาลงดอร์· 2023 →

ผู้ชนะ

ลิโอเนล เมสซี คว้าบาลงดอร์มากที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยทำได้ 8 ครั้ง เขายังเป็นเจ้าของสถิติการชนะติดต่อกันมากที่สุด โดยชนะสี่ครั้งระหว่างปี ค.ศ. 2009 ถึง 2012
คริสเตียโน โรนัลโด ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงบัลลงดอร์เป็นประวัติการณ์ถึง 18 ครั้ง และเป็นผู้ชนะ 5 ครั้ง
จอร์จ เวอาห์ เป็นผู้เล่นคนแรกที่ไม่ใช่ชาวยุโรปและผู้เล่นทีมชาติแอฟริกันคนแรกที่ได้รับรางวัล
เลฟ ยาชิน เป็นผู้รักษาประตูคนเดียวที่ได้รางวัล
ฟรันทซ์ เบ็คเคินเบาเออร์ เป็นกองหลังคนเดียวที่ได้รางวัล 2 ครั้ง

หมายเหตุ: จนถึงปี ค.ศ. 2021 รางวัลบาลงดอร์จะมอบให้โดยพิจารณาจากผลงานของผู้เล่นในระหว่างปีปฏิทิน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2022 คณะกรรมการได้รับคำสั่งให้คำนึงถึงฤดูกาลที่ก่อนหน้า[9]

คำอธิบาย
     หมายถึง ผู้เล่นที่ชนะบาลงดอร์และได้รับรางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมของโลกแห่งปี หรือ
นักฟุตบอลชายยอดเยี่ยมของฟีฟ่า ในปีเดียวกัน (ใช้ได้ในปี ค.ศ. 1991–2009 และตั้งแต่ปี ค.ศ. 2016)
ปี ค.ศ.อันดับผู้เล่นทีมคะแนน
บาลงดอร์ (ค.ศ. 2016–ปัจจุบัน)
20161 คริสเตียโน โรนัลโด เรอัลมาดริด745
2 ลิโอเนล เมสซิ บาร์เซโลนา316
3 อ็องตวน กรีแยซมาน อัตเลติโกเดมาดริด198
20171 คริสเตียโน โรนัลโด เรอัลมาดริด946
2 ลิโอเนล เมสซิ บาร์เซโลนา670
3 เนย์มาร์[note 1] ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง361
20181 ลูกา มอดริช เรอัลมาดริด753
2 คริสเตียโน โรนัลโด[note 2] ลยูเวนตุส476
3 อ็องตวน กรีแยซมาน อัตเลติโกเดมาดริด414
20191 ลิโอเนล เมสซิ บาร์เซโลนา686
2 เฟอร์จิล ฟัน ไดก์ ลิเวอร์พูล679
3 คริสเตียโน โรนัลโด ยูเวนตุส476
2020ไม่มีการมอบรางวัลเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19[10]
20211 ลิโอเนล เมสซิ[note 3] ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง613
2 รอแบร์ต แลวันดอฟสกี ไบเอิร์นมิวนิก580
3 ฌอร์ฌิญญู สโมสรฟุตบอลเชลซี460
20221 การีม แบนเซมา เรอัลมาดริด549
2 ซาดีโย มาเน ลิเวอร์พูล193
3 เกฟิน เดอ เบรยเนอ แมนเชสเตอร์ซิตี175
ปี ค.ศ.นักเตะทีม
2023 ลิโอเนล เมสซี อินเตอร์ไมแอมี
2022 การีม แบนเซมา เรอัลมาดริด
2021 ลิโอเนล เมสซี ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
2020ยกเลิกเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 พ.ศ. 2563[10]
2019 ลิโอเนล เมสซี บาร์เซโลนา
2018 ลูคา มอดริช เรอัลมาดริด
2017 คริสเตียโน โรนัลโด เรอัลมาดริด
2016 คริสเตียโน โรนัลโด เรอัลมาดริด
2009 ลิโอเนล เมสซี บาร์เซโลนา
2008 คริสเตียโน โรนัลโด แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
2007 กาก้า มิลาน
2006 ฟาบีโอ กันนาวาโร เรอัลมาดริด
2005 โรนัลดิญโญ่ บาร์เซโลนา
2004 อันดรีย์ เชฟเชนโค มิลาน
2003 ปาเวล เนดเวต ยูเวนตุส
2002 โรนัลโด้ เรอัลมาดริด
2001 ไมเคิล โอเว่น ลิเวอร์พูล
2000 ลูอิช ฟีกู เรอัลมาดริด
1999 ริวัลโด บาร์เซโลนา
1998 ซีเนดีน ซีดาน ยูเวนตุส
1997 โรนัลโด อินเตอร์
1996 มัทธิอัส ซามเมอร์ ดอร์ทมุนท์
1995 จอร์จ เวอาห์ มิลาน
1994 ฮริสโต้ สตอยช์คอฟ บาร์เซโลนา
1993 โรแบร์โต บัจโจ ยูเวนตุส
1992 มาร์โก ฟัน บัสเติน มิลาน
1991 ฌ็อง-ปีแยร์ ปาแป็ง มาร์แซย์
1990 โลทาร์ มัทเทอุส อินเตอร์
1989 มาร์โก ฟัน บัสเติน มิลาน
1988 มาร์โก ฟัน บัสเติน มิลาน
1987 รืด คึลลิต มิลาน
1986 อิกอร์ เบลานอฟ ดีนาโม เคียฟ
1985 มีแชล ปลาตีนี ยูเวนตุส
1984 มีแชล ปลาตีนี ยูเวนตุส
1983 มีแชล ปลาตีนี ยูเวนตุส
1982 เปาโล รอสซี่ ยูเวนตุส
1981 คาร์ล-ไฮนซ์ รุมเมนิกเก้ บาเยิร์น
1980 คาร์ล-ไฮนซ์ รุมเมนิกเก้ บาเยิร์น
1979 เควิน คีแกน ฮัมบวร์ค
1978 เควิน คีแกน ฮัมบวร์ค
1977 อัลลัน ซิโมนเซ่น กลัทบัค
1976 ฟรันซ์ เบคเคนเบาเออร์ บาเยิร์น
1975 โอเล็ก บลอคคิ่น ดีนาโม เคียฟ
1974 โยฮัน ครัฟฟ์ บาร์เซโลนา
1973 โยฮัน ครัฟฟ์ บาร์เซโลนา
1972 ฟรันซ์ เบคเคนเบาเออร์ บาเยิร์น
1971 โยฮัน ครัฟฟ์ อายักซ์
1970 แกร์ด มึลเลอร์ บาเยิร์น
1969 จานนี่ ริเวร่า มิลาน
1968 จอร์จ เบสต์ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1967 ฟลอริยัน อัลเบิร์ต เฟเรนซ์วารอส
1966 บ๊อบบี้ ชาร์ลตัน แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1965 เอวแซบียู ไบฟีกา
1964 เดนิส ลอว์ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1963 เลฟ ยาชิน ดีนาโม มอสโก
1962 โยเซฟ มาโซปุสต์ ดุคล่า ปราก
1961 โอมาร์ ซีโบรี ยูเวนตุส
1960 ลุยส์ ซัวเรซ มิรามอนเตส บาร์เซโลนา
1959 อัลเฟรโด ดี สเตฟาโน เรอัลมาดริด
1958 แรมง กอปา เรอัลมาดริด
1957 อัลเฟรโด ดี สเตฟาโน เรอัลมาดริด
1956 สเตนรี่ แมทธิว แบล็กพูล

แยกตามผู้เล่น

คริสเตียโน โรนัลโด และ ลิโอเนล เมสซิ คว้ารางวัลบาลงดอร์ 10 สมัยติดต่อกันระหว่างพวกเขาระหว่างปี 2008 ถึง 2017
มีแชล ปลาตีนี ได้รับรางวัลสามปีติดต่อกัน (1983–85)
โรนัลโด นาซารีอู เป็นนักเตะอายุน้อยที่สุดที่ได้บาลงดอร์
โยฮัน ไกรฟฟ์ (ซ้าย) และ มาร์โก ฟัน บัสเติน จากเนเธอร์แลนด์ทั้งคู่ ชนะคนละ 3 ครั้ง
ผู้เล่นชนะเลิศที่สองที่สาม
ลิโอเนล เมสซิ[note 4]8 (2009, 2010, 2011, 2012, 2015, 2019, 2021, 2023)5 (2008, 2013, 2014, 2016, 2017)1 (2007)
คริสเตียโน โรนัลโด[note 5]5 (2008, 2013, 2014, 2016, 2017)6 (2007, 2009, 2011, 2012, 2015, 2018)1 (2019)
มีแชล ปลาตีนี3 (1983, 1984, 1985)2 (1977, 1980)
โยฮัน ไกรฟฟ์3 (1971, 1973, 1974)1 (1975)
มาร์โก ฟัน บัสเติน3 (1988, 1989, 1992)
ฟรันทซ์ เบ็คเคินเบาเออร์2 (1972, 1976)2 (1974, 1975)1 (1966)
โรนัลโด2 (1997, 2002)1 (1996)1 (1998)
อัลเฟรโด ดิ เอสเตฟาโน2 (1957, 1959)1 (1956)
เควิน คีแกน2 (1978, 1979)1 (1977)
คาร์ล-ไฮนซ์ รุมเมนิกเก้2 (1980, 1981)1 (1979)
ลุยส์ ซัวเรซ มิรามอนเตส1 (1960)2 (1961, 1964)1 (1965)
เอวแซบียู1 (1965)2 (1962, 1966)
บ็อบบี ชาร์ลตัน1 (1966)2 (1967, 1968)
แรมง กอปา1 (1958)1 (1959)2 (1956, 1957)
แกร์ท มึลเลอร์1 (1970)1 (1972)2 (1969, 1973)
ซีเนดีน ซีดาน1 (1998)1 (2000)1 (1997)
จานนี่ ริเวร่า1 (1969)1 (1963)
รืด คึลลิต1 (1987)1 (1988)
โลทาร์ มัทเทอุส1 (1990)1 (1991)
โรแบร์โต บัจโจ1 (1993)1 (1994)
ฮริสโต้ สตอยช์คอฟ1 (1994)1 (1992)
อันดรีย์ แชวแชนกอ1 (2004)2 (1999, 2000)
จอร์จ เบสต์1 (1968)1 (1971)
อัลลัน ซิโมนเซ่น1 (1977)1 (1983)
รอนัลดีนโย1 (2005)1 (2004)
สเตนรี่ แมทธิว1 (1956)
โอมาร์ ซิโบริ1 (1961)
โยเซฟ มาโซปุสต์1 (1962)
เลฟ ยาชิน1 (1963)
เดนิส ลอว์1 (1964)
ฟลอริยัน อัลเบิร์ต1 (1967)
โอเล็ก บลอคคิ่น1 (1975)
เปาโล รอสซี่1 (1982)
อิกอร์ เบลานอฟ1 (1986)
ฌ็อง-ปีแยร์ ปาแป็ง1 (1991)
จอร์จ เวอาห์1 (1995)
มัทธิอัส ซามเมอร์1 (1996)
รีวัลดู1 (1999)
ลูอิช ฟีกู1 (2000)
ไมเคิล โอเวน1 (2001)
ปาเวล เนดเวต1 (2003)
ฟาบีโอ กันนาวาโร1 (2006)
กาก้า1 (2007)
ลูกา มอดริช1 (2018)
การีม แบนเซมา1 (2022)

แยกตามประเทศ

ผู้เล่นยูเครนสามคนได้รับรางวัลบาลงดอร์: อันดรีย์ แชวแชนกอ, โอเล็ก บลอคคิ่น, และ อิกอร์ เบลานอฟ
มาร์โก ฟัน บัสเติน (ซ้าย) และ รืด คึลลิต ซึ่งทั้งสองเป็นเพื่อนร่วมทีมเอซี มิลาน และเนเธอร์แลนด์ คว้าแชมป์ติดต่อกันหลายปีตั้งแต่ปี 1987 ถึง 1989
ประเทศผู้เล่นชนะ
 อาร์เจนตินา18
 เยอรมนี57
 เนเธอร์แลนด์37
 โปรตุเกส37
 ฝรั่งเศส46
 อิตาลี55
 บราซิล45
 อังกฤษ45
 ยูเครน33
 สเปน23
 เช็กเกีย22
 รัสเซีย11
 บัลแกเรีย11
 โครเอเชีย11
 เดนมาร์ก11
 ฮังการี11
 ไลบีเรีย11
 ไอร์แลนด์เหนือ11
 สกอตแลนด์11

แยกตามสโมสร

สโมสรจำนวนรางวัลจำนวนนักเตะรายชื่อนักเตะ
เรอัลมาดริด
10
8
อัลเฟรโด ดี สเตฟาโน (1957, 1959)
แรมง กอปา (1958)
ลูอิช ฟีกู (2000)
โรนัลโด (2002)
ฟาบีโอ กันนาวาโร (2006)
คริสเตียโน โรนัลโด (2016, 2017)
ลูคา มอดริช (2018)

การีม แบนเซมา (2022)

บาร์เซโลนา
8
6
ลุยส์ ซัวเรซ (1960)
โยฮัน ครัฟฟ์ (1973, 1974)
ฮริสโต้ สตอยช์คอฟ (1994)
รีวัลดู (1999)
รอนัลดีนโย (2005)
เลียวเนล เมสซี (2009, 2019)
ยูเวนตุส
8
6
โอมาร์ ซีโบรี (1961)
เปาโล รอสซี่ (1982)
มีแชล ปลาตีนี (1983, 1984, 1985)
โรแบร์โต บัจโจ (1993)
ซีเนดีน ซีดาน (1998)
พาเวล เนดเวด (2003)
มิลาน
8
6
จานนี่ ริเวร่า (1969)
รืด คึลลิต (1987)
มาร์โก ฟัน บัสเติน (1988, 1989, 1992)
จอร์จ เวอาห์ (1995)
อันดรีย์ เชฟเชนโค (2004)
กาก้า (2007)
บาเยิร์น
5
3
เกิร์ด มุลเลอร์ (1970)
ฟรันซ์ เบคเคนเบาเออร์ (1972, 1976)
คาร์ล-ไฮนซ์ รุมเมนิกเก้ (1980, 1981)
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
4
4
เดนิส ลอว์ (1964)
บ๊อบบี้ ชาร์ลตั้น (1966)
จอร์จ เบสต์ (1968)
คริสเตียโน โรนัลโด (2008)
ดีนาโม เคียฟ
2
2
โอเล็ก บลอคคิ่น (1975)
อิกอร์ เบลานอฟ (1986)
อินเตอร์
2
2
โลทาร์ มัทเทอุส (1990)
โรนัลโด (1997)
ฮัมบวร์ค
2
1
เควิน คีแกน (1978, 1979)
แบล็กพูล
1
1
สแตนลี่ย์ แมทธิวส์ (1956)
ดุคล่า ปราก
1
1
โยเซฟ มาโซปุสต์ (1962)
ดีนาโม มอสโก
1
1
เลฟ ยาชิน (1963)
ไบฟีกา
1
1
เอวแซบียู (1965)
เฟเรนซ์วารอส
1
1
ฟลอริยัน อัลเบิร์ต (1967)
อายักซ์
1
1
โยฮัน ครัฟฟ์ (1971)
กลัทบัค
1
1
อัลลัน ซิโมนเซ่น (1977)
มาร์แซย์
1
1
ฌ็อง-ปีแยร์ ปาแป็ง (1991)
ดอร์ทมุนท์
1
1
มัทธิอัส ซามเมอร์ (1996)
ลิเวอร์พูล
1
1
ไมเคิล โอเวน (2001)
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
1
1
เลียวเนล เมสซี (2021)
อินเตอร์ไมแอมี
1
1
เลียวเนล เมสซี (2023)

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

อ้างอิง

🔥 Top keywords: หน้าหลักเอฟเอคัพองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อสมทสโมสรฟุตบอลเชลซีสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดพระบรมสารีริกธาตุพิเศษ:ค้นหาสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีเฟซบุ๊กไบเออร์ 04 เลเวอร์คูเซินสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีการแข่งขันระหว่างสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลกับสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดหอแต๋วแตก (ภาพยนตร์ชุด)สโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลาเฮลล์คิทเช่นไทยแลนด์สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโบรุสซีอาดอร์ทมุนท์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาอสุภญีนา ซาลาสสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลยูเวนตุสเอซี มิลานนางทาสหัวทองโอลด์แทรฟฟอร์ดยลดา สวนยศคิม ซู-ฮย็อนสโมสรฟุตบอลเวสต์แฮมยูไนเต็ดอามาด ดียาโลสโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตีชาลี ไตรรัตน์สโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็งประเทศไทยสโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์