ธงชัมมูและกัศมีร์

(เปลี่ยนทางจาก ธงรัฐชัมมูและกัศมีร์)

ธงชัมมูและกัศมีร์ เป็นธงที่มีพื้นฐานมาจากธงของการประชุมแห่งชาติชัมมูและกัศมีร์ ประกาศใช้เมื่อปี ค.ศ. 1952 เป็นธงพื้นสีแดง ประดับด้วยรูปคันไถ ด้านคันธงมีแถบแนวตั้ง 3 แถบ โดยคันไถแทนการเกษตรกรรม ส่วนแถบ 3 แถบแทนภูมิภาคทั้งสามของรัฐ คือ ชัมมู กัศมีร์ และลาดัก[1] รัฐชัมมูและกัศมีร์เคยเป็นรัฐเดียวของอินเดียที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ธงของรัฐร่วมกับธงชาติอินเดีย[2]

ธงชัมมูและกัศมีร์
การใช้ธงราชการ
สัดส่วนธง2:3
ประกาศใช้1952–2019
ลักษณะเป็นธงพื้นสีแดง ประดับด้วยรูปคันไถ ด้านคันธงมีแถบแนวตั้ง 3 แถบ

ในปี ค.ศ. 2019 รัฐสภาอินเดียเห็นชอบในการเพิกถอนสถานะพิเศษของรัฐชัมมูและกัศมีร์ ส่งผลให้รัฐชัมมูและกัศมีร์สูญเสียอัตตาณัติตามมาตรา 370 ของรัฐธรรมนูญอินเดีย[3][4] การเพิกถอนส่งผลให้มีการประกาศเลิกใช้ธง และมีการจัดการปกครองใหม่แบบดินแดนสหภาพคือ ชัมมูและกัศมีร์ และลาดัก[5]

ประวัติธงชัมมูและกัศมีร์

อ้างอิง

🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024สไปร์ท (แร็ปเปอร์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พุ่มพวง ดวงจันทร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อีดิลอัฎฮาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวราชวงศ์จักรีลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระอภัยมณีหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรหลานม่าอริยสัจ 4ตารางธาตุนิราศภูเขาทองรายชื่อเครื่องดนตรีเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาปิติ ภิรมย์ภักดีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย