รัฐธรรมนูญอินเดีย

รัฐธรรมนูญอินเดีย (IAST: ภารตียสังวิธาน) เป็นกฎหมายสูงสุดของอินเดีย[2][3] ถือเป็นรัฐธรมนูญแห่งชาติที่เขียนมือที่ยาวที่สุดในโลก[4][5][6]

รัฐธรรมนูญอินเดีย
หน้าดั้งเดิมของอรัมภบท
ภาพรวม
ท้องที่ใช้ อินเดีย
วันประกาศ26 พฤศจิกายน 1949; 74 ปีก่อน (1949-11-26)
มีผลบังคับใช้26 มกราคม 1950; 74 ปีก่อน (1950-01-26)
ระบบสาธารณรัฐใต้รัฐธรรมนูญระบบรัฐสภาแบบสหพันธรัฐ
โครงสร้างรัฐบาล
แขนง3 (บริหาร, นิติบัญญัติ, ยุติธรรม)
ฝ่ายนิติบัญญัติ2 (ราชยสภา และ โลกสภา)
ฝ่ายบริหารรัฐสภานำโดยนายกรัฐมนตรี
ฝ่ายตุลาการศาลสูงสุด, ศาลสูง และ ศาลแขวง
ระบอบสหพันธรัฐ
คณะผู้เลือกตั้งใช่ สำหรับประธานาธิบดีและรอง
อารัมภบท2
ประวัติศาสตร์
แก้ไขเพิ่มเติม (ครั้ง)106
แก้ไขครั้งล่าสุด10 สิงหาคม 2021 (ครั้งที่ 105)
CitationConstitution of India (PDF), 2020-09-09, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-09-29
ที่เก็บรักษารัฐสภา นิวเดลี อินเดีย
ผู้เขียนบี. อาร์. อามเภฑกร
(ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ)
บี. เอ็น. ราว
(ที่ปรึกษาคณะร่างรัฐธรรมนูญ)
สุเรนทร์ นาถ มุขรจี
(ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ)[1]กละสมาชิกคณะร่างรัฐธรรมนูญ
ผู้ลงนาม284 คน สมาชิกของคณะร่างรัฐธรรมนูญ
ฉบับก่อนหน้ารัฐบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ปี 1935
ราชบัญญัติเอกราชอินเดีย ปี 1947

รัฐธรรมนูญได้รับการรับรองโดยคณะร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ 26 พฤศจิกายน 1949 และมีผลใช้ในวันที่ 26 มกราคม 1950[7] รัฐธรรมนูญนี้มาแทนรัฐบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ปี 1935 เพื่อเป็นเอกสารพื้นฐานสำหรับแนวทางการดำเนินงานของรัฐบาลอินเดีย และเปลี่ยนผ่านให้เขตปกครองอินเดียของอังกฤษ เป็น สาธารณรัฐอินเดีย อินเดียเฉลิมฉลองรัฐธรรมนูญทุกวันที่ 26 มกราคม เนื่องในวันสาธารณรัฐ[8]

รัฐธรรมนูญอินเดียประกาศให้อินเดียเป็นรัฐเอกราช, สังคมนิยม, รัฐฆราวาส[9] และเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย และยืนยันให้พลเมืองของอินเดียว่าจะได้รับความยุติธรรม, ความเท่าเทียม และ เสรีภาพ และสนับสนุนภราดรภาพ[10] รัฐธรรมนูญดั้งเดิมจากปี 1950 ในปัจจุบันเก็บรักษาในกล่องบรรจุฮีเลียมภายในรัฐสภา ที่นิวเดลี ทั้งคำว่า "รัฐฆราวาส" และ "สังคมนิยม" เติมเข้ามาในรัฐธรรมนูญในภายหลัง ในการแปรญัติครั้งที่ 42 ในปี 1976 ท่ามกลางวิกฤตดิอีเมอร์เยนซี[11]

รัฐธรรมนูญแรกร่างโดยคณะร่างรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นผู้ได้รับเลือกตั้งมรจากสมาชิกของสภาจังหวัด[12] คณะร่างรัฐธรรมนูญจำนวน 389 คน (ต่อมา เหลือ 299 คนจากการแบ่งอินเดีย) ใช้เวลาเกือบสามปี และการประชุม 11 ครั้ง ระยะเวลา 165 วันในการร่าง[4][13]

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Austin, Granville (1999). The Indian Constitution: Cornerstone of a Nation (2nd ed.). Oxford University Press. ISBN 978-01-9564-959-8.
  • —— (2003). Working a Democratic Constitution: A History of the Indian Experience (2nd ed.). Oxford University Press. ISBN 978-01-9565-610-7.
  • Baruah, Aparajita (2007). Preamble of the Constitution of India : An Insight & Comparison. Eastern Book Co. ISBN 978-81-7629-996-1.
  • Basu, Durga Das (1965). Commentary on the constitution of India : (being a comparative treatise on the universal principles of justice and constitutional government with special reference to the organic instrument of India). Vol. 1–2. S. C. Sarkar & Sons (Private) Ltd.
  • —— (1981). Shorter Constitution of India. Prentice-Hall of India. ISBN 978-0-87692-200-2.
  • —— (1984). Introduction to the Constitution of India (10th ed.). South Asia Books. ISBN 0-8364-1097-1.
  • —— (2002). Political System of India. Anmol Publications. ISBN 81-7488-690-7.
  • Dash, Shreeram Chandra (1968). The Constitution of India; a Comparative Study. Chaitanya Pub. House.
  • Dhamija, Dr. Ashok (2007). Need to Amend a Constitution and Doctrine of Basic Features. Wadhwa and Company. ISBN 9788180382536.
  • Ghosh, Pratap Kumar (1966). The Constitution of India: How it Has Been Framed. World Press.
  • Jayapalan, N. (1998). Constitutional History of India. Atlantic Publishers & Distributors. ISBN 81-7156-761-4.
  • Khanna, Hans Raj (1981). Making of India's Constitution. Eastern Book Co. ISBN 978-81-7012-108-4.
  • Khanna, Justice H. R. (2015) [2008]. Making of India's Constitution (reprint) (2nd ed.). Eastern Book Company. ISBN 978-81-7012-188-6.
  • Rahulrai, Durga Das (1984). Introduction to the Constitution of India (10th ed.). South Asia Books. ISBN 0-8364-1097-1.
  • Pylee, M.V. (1997). India's Constitution. S. Chand & Co. ISBN 81-219-0403-X.
  • —— (2004). Constitutional Government in India. S. Chand & Co. ISBN 81-219-2203-8.
  • Sen, Sarbani (2007). The Constitution of India: Popular Sovereignty and Democratic Transformations. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-568649-4.
  • Sharma, Dinesh; Singh, Jaya; Maganathan, R.; และคณะ (2002). Indian Constitution at Work. Political Science, Class XI. NCERT.
  • "The Constituent Assembly Debates (Proceedings):(9th December,1946 to 24 January 1950)". The Parliament of India Archive. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2007. สืบค้นเมื่อ 22 February 2008.

แหล่งข้อมูลอื่น

Dhavan, Rajeev (26 November 2015). "Document for all ages: Why Constitution is our greatest achievement". Hindustan Times. OCLC 231696742. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2018. สืบค้นเมื่อ 24 July 2018.</ref>

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง