ภาษาเอา

ภาษาเอา เป็นภาษากูกี-ชีน-นาคา ที่อยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า พูดโดยชาวเอาในรัฐนาคาแลนด์ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย มีผู้พูดราว 141,000 คน (Gordon, 2005) สำเนียงที่สำคัญมี 2 สำเนียงคือ

  • สำเนียง ชุงลี แบ่งได้อีก 2 สำเนียงคือ ชุงลี และทรานส์-ดิขุ
  • สำเนียงมอกเซน แบ่งได้อีก 2 สำเนียงคือ มอกเซน และชังกี
ภาษาเอา
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย
ภูมิภาครัฐนาคาแลนด์
จำนวนผู้พูด141,000 คน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
จีน-ทิเบต
รหัสภาษา
ISO 639-2sit
ISO 639-3njo
ตำแหน่งรัฐนาคาแลนด์ แสดงด้วยสีเข้ม

ผู้พูดสำเนียงชังกี มี 60 % ของชาวเอาทั้งหมด เป็นสำเนียงที่ได้รับอิทธิพลจากมิชชันนารี สำเนียงชุงลีเป็นสำเนียงที่มีการสอนในโรงเรียน สำเนียงมอกเซนใช้พูดส่วนใหญ่ทางตะวันตกของเขตเอาและใกล้เคียงกับสำเนียงชังกี การพูดในแต่ละหมู่บ้านจะมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกัน

อ้างอิง

🔥 Top keywords: หน้าหลักสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024บางกอกคณิกาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เนติพร เสน่ห์สังคมวิทยาศาสตร์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)วันวิสาขบูชาวอลเลย์บอลลมเล่นไฟตารางธาตุอันดับโลกเอฟไอวีบีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์หมวดหมู่:จังหวัดของประเทศไทยไลเกอร์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยไอแซก นิวตันศาสนาพุทธราชวงศ์จักรีกาลิเลโอ กาลิเลอีประวัติศาสตร์ชาร์เลท วาศิตา แฮเมเนารายชื่อเครื่องดนตรีจังหวัดชัยนาทสังคายนาในศาสนาพุทธประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดนิวแคลิโดเนียวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยศาสนาพุทธในประเทศพม่าพระสุนทรโวหาร (ภู่)นริลญา กุลมงคลเพชร