ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2519

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2519 เป็นฤดูกาลที่ไม่การกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2519 แต่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2519
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว26 มกราคม พ.ศ. 2519
ระบบสุดท้ายสลายตัว30 ธันวาคม พ.ศ. 2519
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อลูอิส
 • ลมแรงสูงสุด260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 1 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด895 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด30 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด25 ลูก
พายุไต้ฝุ่น14 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น4 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดไม่ทราบ
ความเสียหายทั้งหมดไม่ทราบ
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2517, 2518, 2519, 2520, 2521

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2519) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้

ภาพรวมฤดูกาล

มาตราพายุหมุนเขตร้อนตามมาตราแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน (SSHWS)
  พายุดีเปรสชันเขตร้อน (≤62 กม./ชม.)  พายุเฮอริเคนระดับ 3 (178–208 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (63–117 กม./ชม.)  พายุเฮอริเคนระดับ 4 (209–251 กม./ชม.)
  พายุเฮอริเคนระดับ 1 (118–153 กม./ชม.)  พายุเฮอริเคนระดับ 5 (≥252 กม./ชม.)
  พายุเฮอริเคนระดับ 2 (154–177 กม./ชม.)

พายุ

ในปีนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกมีพายุโซนร้อน 25 ลูก ในจำนวนนี้พัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น 14 ลูก และในจำนวนนั้น 4 ลูกพัฒนาเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น[1]

พายุไต้ฝุ่นแคที

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา26 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนอาเซียง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา26 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

อาเซียง (Asiang) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุดีเปรสชันเขตร้อนบีริง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา8 – 11 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

บีริง (Biring) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุโซนร้อนลอร์นา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา25 กุมภาพันธ์ – 3 มีนาคม
ความรุนแรง65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นมารี (โกนซิง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา1 – 16 เมษายน
ความรุนแรง215 กม./ชม. (130 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแนนซี

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา24 เมษายน – 3 พฤษภาคม
ความรุนแรง100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นออลกา (ดีดัง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา10 – 28 พฤษภาคม
ความรุนแรง185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นพาเมลา

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา14 – 29 พฤษภาคม
ความรุนแรง240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
920 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.17 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนโกลริง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา15 – 18 มิถุนายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

โกลริง (Gloring) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุไต้ฝุ่นรูบี (ฮัวนิง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา20 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม
ความรุนแรง220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
935 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.61 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแซลลี (อีซัง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา24 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม
ความรุนแรง215 กม./ชม. (130 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
925 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.32 นิ้วปรอท)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นเทอรีส

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา8 – 21 กรกฎาคม
ความรุนแรง250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
905 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.72 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเทอรีสก่อตัวขึ้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม มีกำลังสูงสุดในวันที่ 12 ถึง 13 กรกฎาคม ด้วยความเร็วลม 250 กม./ชม. ในฐานะพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น จากนั้นจึงอ่อนกำลังลง และส่งผลกระทบต่อทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก โดยขึ้นฝั่งที่ประเทศญี่ปุ่นในฐานะพายุโซนร้อนเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม จากนั้นพายุเคลื่อนเป็นวังวนไปทางตะวันตก และสลายตัวไปในวันที่ 21 กรกฎาคม ทำให้เกิดมหาอุทกภัยขึ้น มีผู้เสียชีวิต 3 ราย และสร้างความเสียหายนับล้าน

พายุโซนร้อนไวโอเลต (ลูซิง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา20 – 27 กรกฎาคม
ความรุนแรง100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนไวโอเลตส่งผลกระทบกับฮ่องกง และเกาะไหหน่าน มีผู้เสียชีวิต 2 ราย[2]

พายุโซนร้อนวิลดา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา17 – 24 กรกฎาคม
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแอนิตา (มาริง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา20 – 27 กรกฎาคม
ความรุนแรง120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นบิลลี (นีตัง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา31 กรกฎาคม – 12 สิงหาคม
ความรุนแรง230 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแคลรา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา2 – 8 สิงหาคม
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนดอต (โอซัง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา17 – 24 สิงหาคม
ความรุนแรง95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเอลเลน (ปาริง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา20 – 25 สิงหาคม
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเอลเลนส่งผลกระทบกับฮ่องกง ทำให้มีผู้เสียชีวิต 27 คน และสูญหายอีก 3 คน[2]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นแฟรน (เรมิง)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา2 – 15 กันยายน
ความรุนแรง240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
910 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.87 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนจอร์เจีย

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา8 – 16 กันยายน
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโฮป

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา13 – 19 กันยายน
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนเซเนียง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา13 – 14 กันยายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

เซเนียง (Seniang) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

พายุไต้ฝุ่นไอริส (โตยัง)

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา14 – 29 กันยายน
ความรุนแรง140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโจน

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา18 – 25 กันยายน
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นลูอิส

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา27 ตุลาคม – 9 พฤศจิกายน
ความรุนแรง260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
895 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.43 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนมาร์ช (โยนิง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา4 – 12 พฤศจิกายน
ความรุนแรง110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนนอรา (อาริง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา1 – 8 ธันวาคม
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโอปอล (บาเซียง)

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา8 – 10 ธันวาคม
ความรุนแรง65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนกายัง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา29 – 30 ธันวาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

กายัง (Kayang) เป็นชื่อที่ตั้งโดย PAGASA

รายชื่อพายุ

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ตั้งโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ชื่อแรกที่ใช้ในปี 2519 คือ แคที และชื่อสุดท้ายคือ โอปอล

  • แอกเนส (Agnes)
  • บอนนี (Bonnie)
  • คาร์เมน (Carmen)
  • เดลลา (Della)
  • เอเลน (Elaine)
  • เฟย์ (Faye)
  • กลอเรีย (Gloria)
  • เฮสเตอร์ (Hester)
  • เออร์มา (Irma)
  • จูดี (Judy)
  • คิต (Kit)
  • ลอลา (Lola)
  • แมมี (Mamie)
  • นีนา (Nina)
  • ออรา (Ora)
  • ฟิลลิส (Phyllis)
  • ริตา (Rita)
  • ซูซาน (Susan)
  • เทสส์ (Tess)
  • ไวโอลา (Viola)
  • วินนี (Winnie)
  • อลิซ (Alice)
  • เบตตี (Betty)
  • คอรา (Cora)
  • ดอริส (Doris)
  • เอลซี (Elsie)
  • ฟลอสซี (Flossie)
  • เกรซ (Grace)
  • เฮเลน (Helen)
  • ไอดา (Ida)
  • จูน (June)
  • แคที (Kathy) 1W
  • ลอร์นา (Lorna) 2W
  • มารี (Marie) 3W
  • แนนซี (Nancy) 4W
  • ออลกา (Olga) 5W
  • พาเมลา (Pamela) 6W
  • รูบี (Ruby) 7W
  • แซลลี (Sally) 8W
  • เทอรีส (Therese) 9W
  • ไวโอเลต (Violet) 10W
  • วิลดา (Wilda) 11W
  • แอนิตา (Anita) 12W
  • บิลลี (Billie) 13W
  • แคลรา (Clara) 14W
  • ดอต (Dot) 15W
  • เอลเลน (Ellen) 16W
  • แฟรน (Fran) 17W
  • จอร์เจีย (Georgia) 18W
  • โฮป (Hope) 19W
  • ไอริส (Iris) 20W
  • โจน (Joan) 21W
  • เคต (Kate) 22C
  • ลูอิส (Louise) 23W
  • มาร์ช (Marge) 24W
  • นอรา (Nora) 25W
  • โอปอล (Opal) 26W
  • แพตซี (Patsy)
  • รูท (Ruth)
  • ซาราห์ (Sarah)
  • เทลมา (Thelma)
  • เวรา (Vera)
  • วานดา (Wanda)
  • เอมี (Amy)
  • เบ็บ (Babe)
  • คาร์ลา (Carla)
  • ไดนาห์ (Dinah)
  • เอ็มมา (Emma)
  • ฟรีดา (Freda)
  • กิลดา (Gilda)
  • แฮเรียต (Harriet)
  • ไอวี (Ivy)
  • จีน (Jean)
  • คิม (Kim)
  • ลูซี (Lucy)
  • แมรี (Mary)
  • เนดีน (Nadine)
  • โอลีฟ (Olive)
  • พอลลี (Polly)
  • โรส (Rose)
  • เชอร์ลีย์ (Shirley)
  • ทริกซ์ (Trix)
  • เวอร์จิเนีย (Virginia)
  • เวนดี (Wendy)

มีพายุก่อตัวขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิกกลางหนึ่งลูก นั่นคือ พายุเฮอร์ริเคนเคต ซึ่งตามนโยบายการตั้งชื่อพายุในเวลานั้น ชุดรายชื่อของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกและแปซิฟิกกลางเป็นชุดเดียวกัน

ฟิลิปปินส์

อาเซียง (Asiang)บีริง (Biring)โกนซิง (Konsing)ดีตัง (Ditang)เอเดง (Edeng)
โกลริง (Gloring)ฮัวนิง (Huaning)อีซัง (Isang)ลูซิง (Lusing)มาริง (Maring)
นีตัง (Nitang)โอซัง (Osang)ปาริง (Paring)เรมิง (Reming)เซเนียง (Seniang)
โตยัง (Toyang)ยูนซัง (Unsang)เวลปริง (Welpring)โยนิง (Yoning)
รายชื่อเพิ่มเติม
อาริง (Aring)
บาเซียง (Basiang)กายัง (Kayang)โดรัง (Dorang) (ไม่ถูกใช้)เอนัง (Enang) (ไม่ถูกใช้)กราซิง (Grasing) (ไม่ถูกใช้)

ดูเพิ่ม

  • พายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
  • ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2519
  • ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2519
  • ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2519

อ้างอิง

🔥 Top keywords: หน้าหลักสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024บางกอกคณิกาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เนติพร เสน่ห์สังคมวิทยาศาสตร์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)วันวิสาขบูชาวอลเลย์บอลลมเล่นไฟตารางธาตุอันดับโลกเอฟไอวีบีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์หมวดหมู่:จังหวัดของประเทศไทยไลเกอร์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยไอแซก นิวตันศาสนาพุทธราชวงศ์จักรีกาลิเลโอ กาลิเลอีประวัติศาสตร์ชาร์เลท วาศิตา แฮเมเนารายชื่อเครื่องดนตรีจังหวัดชัยนาทสังคายนาในศาสนาพุทธประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดนิวแคลิโดเนียวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยศาสนาพุทธในประเทศพม่าพระสุนทรโวหาร (ภู่)นริลญา กุลมงคลเพชร