การรุกบอลติก

การรุกบอลติก ยังเป็นที่รู้จักกันคือ การรุกทางยุทธศาสตร์บอลติก หมายถึง การทัพระหว่างแนวรบด้านเหนือของกองทัพแดงและกองทัพเยอรมันกลุ่มเหนือในรัฐบอลติกในช่วงฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 1944 ผลของการสู้รบคือ การแบ่งแยกและโอบล้อมกองทัพกลุ่มเหนือในคูรแลนด์พ็อกเก็ต และโซเวียตได้เข้ายึดครองรัฐบอลติกอีกครั้ง

การรุกบอลติก (1944)
(การรุกทางยุทธศาสตร์บอลติก)
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง

การรุกของโซเวียตบนแนวรบด้านตะวันออก, 1 กันยายน ค.ศ. 1943 – 31 ธันวาคม ค.ศ. 1944
วันที่14 กันยายน – 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1944
สถานที่
รัฐบอลติก, ปรัสเซียตะวันออก, โปแลนด์
ผลโซเวียตชนะ
คู่สงคราม
 สหภาพโซเวียต ไรช์เยอรมัน
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหภาพโซเวียต เกออร์กี จูคอฟ
สหภาพโซเวียต อีวาน บากราเมียน
สหภาพโซเวียต เลโอนิด โกโวลอฟ
นาซีเยอรมนี เอริช ฟ็อน มันชไตน์
นาซีเยอรมนี วัลเทอร์ โมเดิล
นาซีเยอรมนี Johannes Freißner
กำลัง
1,546,400 troops[1]
17,500 artillery pieces
3,080 armoured vehicles
2640 aircraft[2]
730,000 troops
7,000 artillery pieces
1,260 armoured vehicles
400 aircraft[2]
ความสูญเสีย
61,468 dead or missing
218,622 wounded or sick[1]
Unknown

แม่แบบ:Campaignbox Poland 1944-1945

แม่แบบ:Campaignbox Stalin's ten blows

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง