ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024

การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024 เป็นครั้งที่ 17 ของการแข่งขัน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย (ก่อนหน้านี้รู้จักในนาม เอเอฟซี ควาตซอล แชมเปียนชิพ),[1] การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์นานาชาติ จัดทุก 2 ปี ซึ่งจัดโดย สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติชายแห่งทวีปเอเชีย มีทีมเข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 1 ทีม[2] สี่ทีมที่ดีที่สุดจะได้ผ่านเข้ารอบ ฟุตซอลโลก ในประเทศอุซเบกิสถาน นอกเหนือจาก ไทย ที่จะได้ผ่านเข้ารอบเป็นเจ้าภาพโดยอัตโนมัติ. หากอุซเบกิสถานเข้าถึงรอบรองชนะเลิศ, รอบเพลย์ออฟจะมีการจัดขึ้นเพื่อตัดสินตัวแทนจากทวีปเอเชียทีมสุดท้ายในฟุตซอลชิงแชมป์โลก

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย
วันที่17–28 เมษายน พ.ศ. 2567
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน33
จำนวนประตู162 (4.91 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอิหร่าน Saeid Ahmadabbasi
(7 ประตู)
2022
2026

ทีมชาติญี่ปุ่น คือแชมป์เก่า

การเลือกเจ้าภาพ

มีห้าประเทศที่ได้รับการยืนยันสำหรับการประมูล

ประเทศไทยได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพโดยคณะกรรมการฟุตซอลและฟุตบอลชายหาดของเอเอฟซี เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2566[3]

รอบคัดเลือก

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

16 ทีมด้านล่างนี้ ได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสำหรับทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้าย.

ทีมเข้ารอบในฐานะวันที่ผ่านเข้ารอบจำนวนครั้งที่ได้เข้าร่วมผลงานล่าสุดผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
 ไทย5 กันยายน พ.ศ. 2566[3]เจ้าภาพครั้งที่ 172022รองชนะเลิศ (2008, 2012)
 จีน13 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม เอ ชนะเลิศครั้งที่ 132018อันดับที่ 4 (2008, 2010)
 อัฟกานิสถาน11 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม บี ชนะเลิศครั้งที่ 1ครั้งแรกไม่เคย
 ซาอุดีอาระเบีย11 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม บี รองชนะเลิศครั้งที่ 32022รอบแบ่งกลุ่ม (2018, 2022 )
 อิหร่าน11 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม ซี ชนะเลิศครั้งที่ 172022แชมเปียนส์ (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016, 2018)
 คีร์กีซสถาน11 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม ซี รองชนะเลิศครั้งที่ 162018อันดับที่ 3 (2005)
 เวียดนาม9 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม ดี ชนะเลิศครั้งที่ 72022อันดับที่ 4 (2016)
 เกาหลีใต้9 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม ดี รองชนะเลิศครั้งที่ 152022รองชนะเลิศ (1999)
 พม่า9 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม อี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศครั้งที่ 22018รอบแบ่งกลุ่ม (4/4) (2018)
 ทาจิกิสถาน9 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม อี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศครั้งที่ 122022รอบก่อนรองชนะเลิศ (2007)
 คูเวต9 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศครั้งที่ 132022อันดับที่ 4 (2003, 2014)
 บาห์เรน9 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศครั้งที่ 42022รอบก่อนรองชนะเลิศ (2018)
 อิรัก9 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม จี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศครั้งที่ 132022อันดับที่ 4 (2018)
 อุซเบกิสถาน9 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม จี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศครั้งที่ 172022รองชนะเลิศ (2001, 2006, 2010, 2016)
 ญี่ปุ่น11 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม เอช ชนะเลิศครั้งที่ 172022แชมเปียนส์ (2006, 2012, 2014, 2022)
 ออสเตรเลีย11 ตุลาคม พ.ศ. 2566กลุ่ม เอช รองชนะเลิศครั้งที่ 82016อันดับที่ 4 (2012)
1 ตัวเอียง ระบุถึงเจ้าภาพในปีนั้น.

สนามแข่งขัน

กรุงเทพมหานคร
บางกอกอารีนา
ความจุ: 12,000
อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
ความจุ: 8,000

ผู้เล่น

การจับสลาก

การจับสลากจะจัดขึ้นในวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2566.[4]

16 ทีมจะถูกจับสลากออกเป็นสี่กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม, โดยการจัดวางขึ้นอยู่กับผลงานของพวกเขาที่ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.

โถ 1โถ 2โถ 3โถ 4
  1.  ทาจิกิสถาน
  2.  เวียดนาม
  3.  คูเวต
  4.  ซาอุดีอาระเบีย
  1.  อิรัก
  2.  บาห์เรน
  3.  เกาหลีใต้
  4.  พม่า
  1.  คีร์กีซสถาน
  2.  อัฟกานิสถาน
  3.  ออสเตรเลีย
  4.  จีน/  ฮ่องกง

รอบแบ่งกลุ่ม

กฏเกณฑ์

ทีมต่าง ๆ จะถูกจัดอันดับตามคะแนน (3 คะแนนสำหรับการชนะ, 1 คะแนนสำหรับการเสมอ, 0 คะแนนสำหรับการแพ้) และหากคะแนนเท่ากัน เกณฑ์ไทเบรกต่อไปนี้จะถูกนำมาใช้ตามเพื่อจัดอันดับ (กฎระเบียบ ข้อ 7.3)

  1. คะแนนใน เฮด-ทู-เฮด แต่ละนัด ระหว่างที่แต่ละทีมเสมอกัน;
  2. ผลต่างประตู ใน เฮด-ทู-เฮด แต่ละนัด ในระหว่างที่แต่ละทีมเสมอกัน;
  3. ประตูที่ทำได้ในเฮด-ทู-เฮด แต่ละนัด ในระหว่างที่แต่ละทีมเสมอกัน;
  4. ถ้ามากกว่าสองทีมเสมอกัน, และหลังจากใช้เกณฑ์การพบกันทั้งหมดข้างต้นแล้ว, หนึ่งกลุ่มย่อยของแต่ละทีมยังคงเสมอกัน, เกณฑ์ เฮด-ทู-เฮด ทั้งหมดข้างต้นจะถูกนำไปใช้กับกลุ่มย่อยของแต่ละทีมนี้โดยเฉพาะ;
  5. ผลต่างประตูในแต่ละนัดทุกกลุ่มทั้งหมด;
  6. ประตูที่ทำได้ในแต่ละนัดทุกกลุ่มทั้งหมด;
  7. การดวลลูกโทษ ถ้าสองทีมเท่านั้นคือเสมอกันและพวกเขาพบกันในรอบสุดท้ายของกลุ่ม;
  8. คะแนนทางวินัย (ใบเหลือง = 1 คะแนน, ใบแดงอันเป็นผลมาจากใบเหลืองสองใบ = 3 คะแนน, ใบแดงโดยตรง = 3 คะแนน, ใบเหลืองตามด้วยใบแดงโดยตรง = 4 คะแนน);
  9. จำนวนนัดที่เสมอกันเป็นจำนวนมาก.

กลุ่ม เอ

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  ไทย (H)3300102+89ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  เวียดนาม31113304
3  พม่า311147−34
4  จีน300327−50
เวียดนาม  1–1  พม่า
  • Đào Minh Quảng  24'
รายงาน
  • Ko Ko Lwin  29'
ผู้ตัดสิน: Ebrahim Mehrabi Afshar (อิหร่าน)
ไทย  3–1  จีน
รายงาน
  • Xu Yang  40'
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kobayashi (ญี่ปุ่น)

จีน  0–1  เวียดนาม
รายงานNhan Gia Hưng  11'
ผู้ตัดสิน: Gelareh Nazemi Deylami (อิหร่าน)
พม่า  0–5  ไทย
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Nikita Afinogenov (อุซเบกิสถาน)

ไทย  2–1  เวียดนาม
รายงาน
  • Từ Minh Quang  21'
ผู้ตัดสิน: Eisa Abdulhoussain (คูเวต)
พม่า  3–1  จีน
  • Hlaing Min Tun  16'
  • Shen Siming  17' (เข้าประตูตัวเอง)
  • Ko Ko Lwin  34'
รายงาน
  • Yakepujiang Maimaiti  10'
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Wahyu Wicaksono (อินโดนีเซีย)

กลุ่ม บี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  อุซเบกิสถาน3300104+69ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  อิรัก3201127+56
3  ซาอุดีอาระเบีย3102610−43
4  ออสเตรเลีย3003613−70
อุซเบกิสถาน  3–2  ออสเตรเลีย
  • Usmonov  20'39"'
  • Rakhmatov  20'58"'35'30"'
รายงาน
  • Giovenali  4'59"'
  • Garner  37'18"'
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Eisa Abdulhoussain (คูเวต)
ซาอุดีอาระเบีย  1–5  อิรัก
  • Al-Otaibi  10'31"'
รายงาน
  • Al-Husaynat  0'51"'
  • Al-Bayati  4'24"'
  • Al-Taie  6'11"'
  • Al-Ogaili  23'30"'
  • Sulaiman  31'27"'
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: พรณรงค์ ไกรรอด (ไทย)

ออสเตรเลีย  2–4  ซาอุดีอาระเบีย
  • De Melo  22'47"'
  • Dib  28'57"'
รายงาน
  • Aroan  22'16"'25'16"'
  • Al-Maleh  30'13"'
  • Al-Maghrabi  39'39"'
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: An Ran (จีน)
อิรัก  1–4  อุซเบกิสถาน
  • Al-Ogaili  37'12"'
รายงาน
  • Usmonov  10'08"'
  • Adilov  15'24"'
  • Tulkinov  25'24"'
  • Juraev  27'52"'
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Husain Al-Bahhar (บาห์เรน)

อุซเบกิสถาน  3–1  ซาอุดีอาระเบีย
  • Adilov  24'40"'
  • Akhmetzyanov  31'05"'
  • Elmurodov  38'57"'
รายงาน
  • Mohamed  2'08"'
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Fahad Al-Hosani (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
อิรัก  6–2  ออสเตรเลีย
  • Al-Husaynat  13'30"'
  • Sulaiman  29'57"'32'21"'
  • Al-Obaidi  30'22"'3344"'
  • Al-Bayati  35'44"'
รายงาน
  • Kouta  12'52"'
  • Adeli  13'15"'
ผู้ตัดสิน: Ebrahim Mehrabiafshar (อิหร่าน)

กลุ่ม ซี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  ทาจิกิสถาน312020+25ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  คีร์กีซสถาน312032+15
3  ญี่ปุ่น311123−14
4  เกาหลีใต้301202−21
ทาจิกิสถาน  2–0  เกาหลีใต้
  • Aliev  5'02"'
  • Sardorov  8'19"'
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Hassan Al-Gburi (อิรัก)
ญี่ปุ่น  2–3  คีร์กีซสถาน
  • Arai  37'34"'
  • Tsutsumi  38'16"'
รายงาน
  • Dzhanat Uulu  12'24"'
  • Alimov  20'34"'
  • Kubanychov  30'40"'
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Andrew Best (ออสเตรเลีย)

คีร์กีซสถาน  2–2  ทาจิกิสถาน
  • Makhmadaminov  36:25'
  • Alimov  39:49'
  • Khojaev  9:00'
  • Aliev  29:23'
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
เกาหลีใต้  0–5  ญี่ปุ่น
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร

ญี่ปุ่น  1–1  ทาจิกิสถาน
  • Ishida  11:05'
  • Sharipov  25:38'
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
เกาหลีใต้  5–5  คีร์กีซสถาน
  • Lim Seung-ju  6:46'
  • Lee Han-wool  10:25'
  • Kim Seung-hyun  11:49'
  • Kyoung Jeong-soo  24:53'
  • Yoo Kyung-dong  38:56'
  • Amanbaev  3:42'
  • Kubanychov  15:09'26:13'
  • Makhmadaminov  27:43'
  • Dzhanat uulu  29:28'

กลุ่ม ดี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  อิหร่าน3300124+89ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  อัฟกานิสถาน311178−14
3  คูเวต311158−34
4  บาห์เรน3003610−40
อิหร่าน  3–1  อัฟกานิสถาน
  • Karimi  9'27"'
  • Ahmadabbasi  20'09"'21'11"'
รายงาน
  • Gholami  26'01"'
ผู้ตัดสิน: Fahad Al-Hosani (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
คูเวต  2–1  บาห์เรน
  • Al-Farsi แม่แบบ:Goalfs
  • Al-Baeijan แม่แบบ:Goalfs
รายงาน
  • Al-Araibi แม่แบบ:Goalfs
ผู้ตัดสิน: Anatoliy Rubakov (อุซเบกิสถาน)

อัฟกานิสถาน  3–3  คูเวต
  • Al-Alban  10:49'
  • Al-Mansour  11:46'
  • Al-Fadhel  24:01'
บาห์เรน  3–5  อิหร่าน
  • Al-Noaimi  11:24'
  • Sanjar  18:07'
  • Al-Araibi  29:16'
  • Rafieipour  11:39'
  • Karimi  21:21'
  • Ahmadabbasi  28:34'38:29'
  • Azimi  32:13'

อิหร่าน  4–0  คูเวต
บาห์เรน  2–3  อัฟกานิสถาน
  • Norowzi  4:54'
  • Kazemi  25:01'
  • Gholami  34:10'
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร

รอบแพ้คัดออก

สายการแข่งขัน

 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
 
 ไทย 3
 
26 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
 อิรัก 2
 
 ไทย
(ลูกโทษ)
3(6)
 
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
 ทาจิกิสถาน 3(5)
 
 ทาจิกิสถาน
(ต่อเวลา)
2
 
28 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา)
 
 อัฟกานิสถาน 1
 
 ไทย 1
 
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา)
 
 อิหร่าน 4
 
 อุซเบกิสถาน 2
 
26 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา)
 
 เวียดนาม 1
 
 อุซเบกิสถาน 3(4)
 
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
 อิหร่าน
(ลูกโทษ)
3(5)นัดชิงอันดับที่ 3
 
 อิหร่าน 6
 
28 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา)
 
 คีร์กีซสถาน 1
 
 ทาจิกิสถาน 5(1)
 
 
 อุซเบกิสถาน
(ลูกโทษ)
5(3)
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์เข้าไปสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2024. ในกรณีที่อุซเบกิสถานเป็นหนึ่งในนั้น, ทีมที่แพ้ที่มีอันดับดีที่สุดก็จะได้ผ่านเข้ารอบเช่นกัน.

ทาจิกิสถาน  2–1 (ต่อเวลาพิเศษ)  อัฟกานิสถาน
รายงาน
  • Mahmoodi  22:40'

อิหร่าน  6–1  คีร์กีซสถาน
  • Azimi  7:08'
  • Aghapour  9:20'
  • Ahmadabbasi  23:35'
  • Karimi  25:21'35:36'
  • Hassanzadeh  36:40' (ลูกโทษ)
รายงาน
  • Amanbaev  8:08'

ไทย  3–2  อิรัก
  • อลงกรณ์  18:15'30:30'
  • เทอดศักดิ์  38:57'
รายงาน
  • Al-Husaynat  2:01'
  • Zeyad  15:54'

อุซเบกิสถาน  2–1  เวียดนาม
  • Tukinov  33:24'
  • Juraev  39:02'
รายงาน
  • Nguyễn Thịnh Phát  16:35'

รอบรองชนะเลิศ

ไทย  3–3 (ต่อเวลาพิเศษ)  ทาจิกิสถาน
  • วรศักดิ์  12:36'
  • อลงกรณ์  29:25'
  • เทอดศักดิ์  37:15'
  • Salomov  19:54'
  • Khojaev  22:30'28:35'
ลูกโทษ
6–5
  • Alimakhmadov
  • Umarov
  • Rizomov
  • Soliev
  • Sardorov
  • Kuziev
  • Khojaev
  • Salomov

อุซเบกิสถาน  3–3 (ต่อเวลาพิเศษ)  อิหร่าน
  • Juraev  6:31'
  • Akhmetzyanov  17:48'24:40'
  • Adilov  3:44' (o.g.)
  • Akhmetzyanov  23:46' (o.g.)
  • Azimi  28:39'
ลูกโทษ
  • Juraev
  • Ropiev
  • Akhmetzyanov
  • Rakhmatov
  • Tulkinov
  • Botirov
4–5
  • Rafieipour
  • Ahmadabbasi
  • Sangsefidi
  • Hassanzadeh
  • Aghapour
  • Karimi

เพลย์ออฟนัดชิงอันดับที่ 3

ทาจิกิสถาน  5–5 (ต่อเวลาพิเศษ)  อุซเบกิสถาน
  • Rizomov  9:55'29:32'33:39'
  • Aliev  21:35'
  • Kuziev  34:38'
ลูกโทษ
  • Sardorov
  • Aliev
  • Umarov
  • Soliev
1–3
  • Juraev
  • Ropiev
  • Akhmetzyanov
  • Rakhmatov
  • Tulkinov

รอบชิงชนะเลิศ

ไทย  1-4  อิหร่าน

ผู้ทำประตู

มีการทำประตูทั้งหมด 172 ประตู จากการแข่งขัน 34 นัด เฉลี่ย 5.06 ประตูต่อนัด ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน ประตูใน รอบเพลย์ออฟ สำหรับเข้าร่วม ฟุตซอลโลก 2024 รวมอยู่ด้วย แต่ไม่ได้รับการพิจารณาเป็นผู้ทำประตูสูงสุด


การทำประตู 7 ครั้ง

  • Saeid Ahmadabbasi

การทำประตู 5 ครั้ง

  • Mehran Gholami (3 goal in the play-offs)
  • Salim Faisal Al-Husaynat (2 goals in the play-offs)

การทำประตู 4 ครั้ง

  • Mahdi Karimi
  • Tareq Zeyad

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

  • Reza Hosseinpour
  • Mahdi Norowzi (1 goal in the play-offs)
  • Ali Al-Araibi
  • Saleh Sanjar
  • Mustafa Ihsan Al-Bayati
  • Harith Al-Obaidi
  • Haedr Majed Al-Ogaili
  • António Hirata
  • Ko Ko Lwin
  • Nawaf Mubarak Aroan
  • Fayzali Sardorov
  • เทอดศักดิ์ เจริญพงษ์
  • วรศักดิ์ ศรีหรั่งไพโรจน์
  • Mashrab Adilov
  • Dilshod Rakhmatov
  • Elbek Tulkinov
  • Akbar Usmonov
  • Nguyễn Mạnh Dũng (2 goals in the play-offs)

การทำประตู 1 ครั้ง

  • Omid Qanbari (1 goal in the play-offs)
  • Mohammad Javad Safari (1 goal in the play-offs)
  • Shervin Adeli
  • Ethan De Melo
  • Jamie Dib
  • Tyler Garner
  • Wade Giovenali
  • Michael Kouta
  • Ammar Hasan Ali
  • Mirza Al-Noaimi
  • Yakepujiang Maimaiti
  • Xu Yang
  • Salar Aghapour
  • Ali Akrami
  • Salar Aghapour
  • Ali Asghar Hassanzadeh
  • Mohanad Abdulhadi Albu-Mohammed (1 goal in the play-offs)
  • Muheb Al-Deen Al-Taiel
  • Kentaro Ishida
  • Kazuhiro Nibuya
  • Yuta Tsutsumi
  • Naser Al-Alban
  • Sulman Al-Baeijan
  • Saleh Al-Fadhel
  • Ahmad Al-Farsi
  • Omar Al-Mansour
  • Daniiar Talaibekov (1 goal in the play-offs)
  • Hlaing Min Tun
  • Abdullah Al-Maghrabi
  • Fares Fahad Al-Maleh
  • Abdulilah Al-Otaibi
  • Eihab Saied Mohamed
  • Kim Seung-hyun
  • Kyoung Jeong-soo
  • Lee Han-wool
  • Lim Seung-ju
  • Yoo Kyung-dong
  • Umed Kuziev
  • Dilshod Salomov
  • Muhamadjon Sharipov
  • อภิวัฒน์ แจ่มเจริญ
  • ปาณัสม์ กิตติภาณุวงศ์
  • อิทธิชา ประภาพันธ์
  • Abbos Elmurodov
  • Đào Minh Quảng
  • Nguyễn Thịnh Phát
  • Nhan Gia Hưng
  • Từ Minh Quang

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

  • Reza Hosseinpour (ในนัดพบกับ ทาจิกิสถาน)
  • Mahdi Norowzi (ในนัดพบกับ คีร์กีซสถาน)
  • Shen Siming (ในนัดพบกับ เมียนมาร์)
  • Ahmad Al-Farsi (ในนัดพบกับ อิหร่าน)
  • Mukhamed Askarbekov (ในนัดพบกับ อัฟกานิสถาน)
  • Mashrab Adilov (ในนัดพบกับ อิหร่าน)
  • Abror Akhmetzyanov (ในนัดพบกับ อิหร่าน)

รอบเพลย์ออฟ

การแข่งขันรอบเพลย์ออฟขึ้นอยู่กับผลงานของ อุซเบกิสถาน ซึ่งผ่านเข้ารอบโดยอัตโนมัติสำหรับ ฟุตซอลโลก 2024 ในฐานะเจ้าภาพโดยอัตโนมัติ อุซเบกิสถานผ่านเข้าสู่รอบ รอบรองชนะเลิศ ดังนั้นรูปแบบเพลย์ออฟจึงจัดขึ้นเพื่อให้ผู้แพ้รอบก่อนรองชนะเลิศที่เหลืออีกสี่ทีมได้เล่นเพลย์ออฟแบบคัดออกครั้งเดียว ผู้ชนะของ เพลย์ออฟ 3 จะผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลกฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2024

ในรอบเพลย์ออฟ การต่อเวลาพิเศษ และ การยิงจุดโทษ จะถูกใช้ในการตัดสินผู้ชนะหากจำเป็น (ข้อบังคับข้อ 10) .[2]

สายการแข่งขัน

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
26 เมษายน – อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
 
 
 อิรัก 3
 
28 เมษายน – บางกอกอารีนา
 
 อัฟกานิสถาน 5
 
 อัฟกานิสถาน 5
 
26 เมษายน – บางกอกอารีนา
 
 คีร์กีซสถาน 3
 
 เวียดนาม 2
 
 
 คีร์กีซสถาน 3
 

รอบรองชนะเลิศ

อิรัก  3–5  อัฟกานิสถาน
  • Al-Husaynat  4:34'26:26'
  • Albu-Mohammed  10:36'
  • Kazemi  6:18'
  • Mahmoodi  9:55'
  • Gholami  12:28'16:14'
  • J. Safari  39:58'

เวียดนาม  2–3  คีร์กีซสถาน
  • Nguyễn Mạnh Dũng  12:56'37:24'
  • Alimov  8:13'
  • Makhmadaminov  23:26'
  • Talaibekov  38:48'

รอบชิงชนะเลิศ

ผู้ชนะจะมีสิทธิ์เข้าร่วม ฟุตซอลโลก 2024

 อัฟกานิสถาน5–3  คีร์กีซสถาน
  • Qanbari  07:29'
  • Askarbekov  28:35' (o.g.)
  • Kazemi  31:25'
  • Norowzi  34:52'
  • Gholami  38:45'
  • Norowzi  29:58' (o.g.)
  • Amanbaev  36:20'
  • Dzhanat Uulu  39:56'

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตซอลโลก

ห้าทีมด้านล่างนี้ที่มาจากเอเอฟซีได้สิทธิ์เข้าไปสำหรับ ฟุตซอลโลก 2024 ร่วมกับเจ้าภาพ อุซเบกิสถาน.

ทีมวันที่ผ่านเข้ารอบการลงสนามครั้งที่ผ่านมาในทัวร์นาเมนต์1
 อุซเบกิสถาน23 มิถุนายน 2566[6]2 (2016, 2021)
 ทาจิกิสถาน24 เมษายน 25670 (ครั้งแรก)
 อิหร่าน24 เมษายน 25678 (1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2021)
 ไทย24 เมษายน 25676 (2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2021)
 อัฟกานิสถาน28 เมษายน 25670 (ครั้งแรก)

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง