รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

ต่อไปนี้คือรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง (ไม่รวมบริษัทลูก / บริษัทในเครือ)

รัฐวิสาหกิจในปัจจุบัน

ลำดับชื่อรัฐวิสาหกิจส่วนราชการที่กำกับดูแลจัดตั้งโดยปีที่จัดตั้งเป็นรัฐวิสาหกิจประเภทสาขาหมายเหตุ
1ธนาคารออมสินกระทรวงการคลังพระราชบัญญัติ[1]พ.ศ. 2456การเงินเดิมมีชื่อว่า คลังออมสิน
2บริษัท ขนส่ง จำกัดกระทรวงคมนาคมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2473ขนส่ง
3ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรกระทรวงการคลังพระราชบัญญัติ[2]พ.ศ. 2486การเงินเดิมชื่อ ธนาคารเพื่อการสหกรณ์[3]
4บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัดกระทรวงคมนาคมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2491ขนส่ง
5การท่าเรือแห่งประเทศไทยกระทรวงคมนาคมพระราชบัญญัติ[4]พ.ศ. 2494ขนส่งรับโอนกิจการจากสำนักงานท่าเรือกรุงเทพฯ
6การรถไฟแห่งประเทศไทยกระทรวงคมนาคมพระราชบัญญัติ[5]พ.ศ. 2494ขนส่งเดิมคือ กรมรถไฟ
7องค์การสะพานปลากระทรวงเกษตรและสหกรณ์พระราชบัญญัติ[6]พ.ศ. 2496เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
8ธนาคารอาคารสงเคราะห์กระทรวงการคลังพระราชบัญญัติ[7]พ.ศ. 2496การเงิน
9องค์การตลาดกระทรวงมหาดไทยพระราชกฤษฎีกา[8]พ.ศ. 2496พาณิชย์และบริการ
10องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพระราชกฤษฎีกา[9]พ.ศ. 2497สังคมและเทคโนโลยีเดิมมีชื่อว่า องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย
11โรงพิมพ์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติสำนักงานตำรวจแห่งชาติระเบียบพ.ศ. 2497อุตสาหกรรมเป็นรัฐวิสาหกิจประเภท 2 (ไม่เป็นนิติบุคคล)
12องค์การคลังสินค้ากระทรวงพาณิชย์พระราชกฤษฎีกาพ.ศ. 2498พาณิชย์และบริการ
13สำนักงานธนานุเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ระเบียบพ.ศ. 2498สังคมและเทคโนโลยี
14องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพระราชกฤษฎีกา[10]พ.ศ. 2499เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
15บริษัท สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว จำกัดกระทรวงการคลังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2499พาณิชย์และบริการ
16บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัดกระทรวงกลาโหมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2500อุตสาหกรรม
17การไฟฟ้านครหลวงกระทรวงมหาดไทยพระราชบัญญัติ[11]พ.ศ. 2501พลังงานรวมกิจการ การไฟฟ้ากรุงเทพ กับกองไฟฟ้าหลวง เข้าด้วยกัน
18การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาพระราชบัญญัติ[12]พ.ศ. 2502พาณิชย์และบริการเดิมเป็นสำนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยว กรมโฆษณาการ ต่อมาเป็นองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย[13]
19การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกระทรวงมหาดไทยพระราชบัญญัติ[14]พ.ศ. 2503พลังงานเริ่มดำเนินการในนามแผนกไฟฟ้า กองบุราภิบาล กรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย เมื่อปี พ.ศ. 2473
20สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมพระราชบัญญัติ[15]พ.ศ. 2506สังคมและเทคโนโลยีเดิมชื่อ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์แห่งประเทศไทย[16]
21องค์การสุรา กรมสรรพสามิตกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลังระเบียบพ.ศ. 2506อุตสาหกรรม
22องค์การเภสัชกรรมกระทรวงสาธารณสุขพระราชบัญญัติ[17]พ.ศ. 2509สังคมและเทคโนโลยีจัดตั้งขึ้นจากการรวมโรงงานเภสัชกรรม กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และ กองโอสถศาลา เข้าเป็นหน่วยงานหนึ่งเดียวกัน
23การประปานครหลวงกระทรวงมหาดไทยพระราชบัญญัติ[18]พ.ศ. 2510สาธารณูปการเดิมเป็นการประปากรุงเทพฯ เริ่มดำเนินการ พ.ศ. 2457
24การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยกระทรวงพลังงานพระราชบัญญัติ[19]พ.ศ. 2512พลังงานเคยถูกแปรสภาพเป็น บริษัท กฟผ. จำกัด (มหาชน) มาแล้วครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2549
25องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พระราชกฤษฎีกา[20]พ.ศ. 2514เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติรับโอนกิจการจาก โรงงานโคนมไทย-เดนมาร์ก ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มาดำเนินการต่อ
26การเคหะแห่งชาติกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์พระราชบัญญัติ[21]พ.ศ. 2515สาธารณูปการเดิมจัดตั้งโดยประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ ๓๑๖ [22]
27การทางพิเศษแห่งประเทศไทยกระทรวงคมนาคมพระราชบัญญัติ[23]พ.ศ. 2515ขนส่งเดิมจัดตั้งโดยประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290
28การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยกระทรวงอุตสาหกรรมพระราชบัญญัติ[24]พ.ศ. 2515อุตสาหกรรมเดิมจัดตั้งโดยประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 339[25] พ.ศ. 2515
29สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลกระทรวงการคลังพระราชบัญญัติ[26]พ.ศ. 2517พาณิชย์และบริการจัดตั้งเป็นส่วนราชการ เมื่อปี พ.ศ. 2482
30องค์การตลาดเพื่อเกษตรกรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พระราชกฤษฎีกา[27]พ.ศ. 2517เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
31องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพกระทรวงคมนาคมพระราชกฤษฎีกา[28]พ.ศ. 2519ขนส่งรับโอนกิจการรถโดยสารจาก บริษัท มหานครขนส่ง จำกัด มาดำเนินการต่อ
32บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)สำนักนายกรัฐมนตรีกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดพ.ศ. 2520สื่อสารรับโอนกิจการสถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์จากบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด ในปี พ.ศ. 2520 เดิมคือ องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ต่อมาเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547
33บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)กระทรวงพลังงานกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดพ.ศ. 2521พลังงานเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ในปี พ.ศ. 2544 เดิมเป็นการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย[29]
34การประปาส่วนภูมิภาคกระทรวงมหาดไทยพระราชบัญญัติ[30]พ.ศ. 2522สาธารณูปการ
35บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)กระทรวงคมนาคมกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดพ.ศ. 2522ขนส่งเดิมคือ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย เป็นบริษัทมหาชนจำกัด ในปี พ.ศ. 2545
36การกีฬาแห่งประเทศไทยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาพระราชบัญญัติ[31]พ.ศ. 2528สังคมและเทคโนโลยี
37บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อมกระทรวงการคลังพระราชบัญญัติ[32]พ.ศ. 2534การเงิน
38โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิตกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลังระเบียบพ.ศ. 2535อุตสาหกรรมจัดตั้งเป็นส่วนราชการ เมื่อปี พ.ศ. 2481
39องค์การสวนพฤกษศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพระราชกฤษฎีกา[33]พ.ศ. 2535เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
40สถาบันการบินพลเรือนกระทรวงคมนาคมพระราชกฤษฎีกา[34]พ.ศ. 2535ขนส่ง
41ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยกระทรวงการคลังพระราชบัญญัติ[35]พ.ศ. 2536การเงิน
42องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมพระราชกฤษฎีกา[36]พ.ศ. 2538สังคมและเทคโนโลยี
43องค์การจัดการน้ำเสียกระทรวงมหาดไทยพระราชกฤษฎีกา[37]พ.ศ. 2538สาธารณูปการเดิมสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
44การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยกระทรวงคมนาคมพระราชบัญญัติ[38]พ.ศ. 2543ขนส่งเดิมเป็นองค์การรถไฟฟ้ามหานคร ในปี พ.ศ. 2535[39]
45ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยกระทรวงการคลังพระราชบัญญัติพ.ศ. 2545การเงิน
46ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยกระทรวงการคลัง

กระทรวงอุตสาหกรรม[40]

พระราชบัญญัติ[41]พ.ศ. 2545การเงินแปรสภาพมาจาก บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม
47บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2546สื่อสารเดิมเป็นส่วนหนึ่งของการสื่อสารแห่งประเทศไทยในปี พ.ศ. 2520
48บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำกัดกระทรวงการคลังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2547พาณิชย์และบริการ
49บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัดกระทรวงคมนาคมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2554ขนส่ง
50การยางแห่งประเทศไทยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พระราชบัญญัติ[42]พ.ศ. 2558เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติเกิดจากการรวม สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง องค์การสวนยาง และ สถาบันวิจัยยาง เข้าด้วยกัน
51การยาสูบแห่งประเทศไทยกระทรวงการคลังพระราชบัญญัติ[43]พ.ศ. 2561อุตสาหกรรมรัฐบาลไทยได้ซื้อกิจการของ ห้างหุ้นส่วนจำกัด บูรพายาสูบ มาบริหาร จึงเปลี่ยนชื่อเป็น โรงงานยาสูบไทยสะพานเหลือง เมื่อ พ.ศ. 2482
ต่อมาใน พ.ศ. 2561 ได้ยกฐานะ โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ขึ้นเป็นนิติบุคคล และเปลี่ยนชื่อเป็น "การยาสูบแห่งประเทศไทย"
52บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน)กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดพ.ศ. 2564สื่อสารก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2564 จากการควบรวมกิจการระหว่าง กสท โทรคมนาคม และทีโอที

อดีตรัฐวิสาหกิจ

ลำดับชื่อรัฐวิสาหกิจส่วนราชการที่กำกับดูแลจัดตั้งโดยการจัดตั้งเป็นรัฐวิสาหกิจการสิ้นสุดความเป็นรัฐวิสาหกิจประเภทสาขาหมายเหตุ
ปีสถานะก่อนหน้าปีสาเหตุ
1บริษัท นารายณ์ภัณฑ์ จำกัดกระทรวงอุตสาหกรรมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2480พ.ศ. 2527อุตสาหกรรมบริษัทร่วมทุนของกระทรวงอุตสาหกรรมกับเอกชน
2บริษัท กระสอบอิสาน จำกัดกระทรวงอุตสาหกรรมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2496พ.ศ. 2530อุตสาหกรรมปัจจุบันยังดำเนินกิจการอยู่ โดยใช้ชื่อว่า บริษัท เอ็นอีพี อสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) โดยมีกระทรวงการคลังร่วมกับภาคเอกชนเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่
3บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)กระทรวงการคลังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2518พ.ศ. 2537พาณิชย์และบริการก่อตั้งในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาโอนหุ้นมาเป็นของกระทรวงการคลัง ในปี พ.ศ. 2518
4องค์การเหมืองแร่ในทะเลกระทรวงอุตสาหกรรมพระราชกฤษฎีกา[44]พ.ศ. 2518พ.ศ. 2540อุตสาหกรรม
5องค์การทอผ้ากระทรวงกลาโหมพระราชกฤษฎีกา[45]พ.ศ. 2498พ.ศ. 2541อุตสาหกรรม
6องค์การผลิตอาหารสำเร็จรูปกระทรวงกลาโหมพระราชกฤษฎีกา[46]พ.ศ. 2498พ.ศ. 2541อุตสาหกรรม
7องค์การอุตสาหกรรมห้องเย็นกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พระราชกฤษฎีกา[47]พ.ศ. 2501พ.ศ. 2541อุตสาหกรรม
8องค์การแก้วกระทรวงกลาโหมพระราชกฤษฎีกา[48]พ.ศ. 2498พ.ศ. 2543อุตสาหกรรม
9องค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์กระทรวงการคลังพระราชกฤษฎีกา[49]พ.ศ. 2540พ.ศ. 2543ยุบรวมเข้ากับธนาคารอาคารสงเคราะห์สถาบันการเงิน
10บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)กระทรวงพลังงานกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดพ.ศ. 2500พ.ศ. 2544สิ้นสุดความเป็นรัฐวิสาหกิจ ปัจจุบันยังดำเนินการในฐานะบริษัทมหาชนพลังงานเปลี่ยนชื่อมาจาก บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2560
11องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์กระทรวงคมนาคมพระราชกฤษฎีกาพ.ศ. 2496เดิมเป็นหน่วยงานสังกัด กรมการขนส่ง (ปัจจุบันเรียกชื่อว่า กรมการขนส่งทางบก)[50]พ.ศ. 2549ขนส่งจัดตั้งขึ้นจริง ในปี พ.ศ. 2490
12องค์การแบตเตอรี่กระทรวงกลาโหมพระราชกฤษฎีกา[51]พ.ศ. 2498พ.ศ. 2550ยุบเลิกกิจการตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2550[52]อุตสาหกรรม
13องค์การฟอกหนังกระทรวงกลาโหมพระราชกฤษฎีกา[53]พ.ศ. 2498พ.ศ. 2550ยุบเลิกกิจการตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2550[54]อุตสาหกรรม
14บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงินกระทรวงการคลังพระราชกำหนดพ.ศ. 2540พ.ศ. 2550ยุบเลิกกิจการ[55]การเงิน
15บริษัท ส่งเสริมธุรกิจเกษตรกรไทย จำกัดกระทรวงการคลังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2548พ.ศ. 2553ยุบเลิกกิจการตั้งแต่ 31 มกราคม พ.ศ. 2553พาณิชย์และบริการ
16บริษัท ไทยเดินเรือทะเล จำกัดกระทรวงคมนาคมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2483พ.ศ. 2554ยุบเลิกกิจการขนส่ง
17บริษัท ไม้อัดไทย จำกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์พ.ศ. 2494พ.ศ. 2555อุตสาหกรรม
18องค์การสวนยางกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พระราชกฤษฎีกา[56]พ.ศ. 2504เดิมมีชื่อว่า องค์การสวนยางนาบอนพ.ศ. 2558ยุบรวมทั้ง 2 หน่วยงานและสถาบันวิจัยยางเข้าด้วยกัน ตั้งขึ้นเป็นการยางแห่งประเทศไทยเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
19สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พระราชบัญญัติ[57]พ.ศ. 2503เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
20บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)กระทรวงคมนาคมกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดพ.ศ. 2503บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด (ต่อมาถูกโอนกิจการในปี พ.ศ. 2531) และสายการบินสแกนดิเนเวียแอร์ไลน์พ.ศ. 2563สิ้นสภาพรัฐวิสาหกิจเมื่อกระทรวงการคลังได้ลดสัดส่วนการถือหุ้นการบินไทยลง จากเดิมร้อยละ 51.03 เหลือร้อยละ 47.86 (โดยเมื่อรวมกับส่วนที่รัฐวิสาหกิจธนาคารออมสินถืออยู่ในสัดส่วน 2.13% แล้ว มีไม่เกินกว่าร้อยละ 50) เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2563[58]ขนส่ง
21บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัยกระทรวงการคลังพระราชบัญญัติพ.ศ. 2540โอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้สิน ทุน และภาระผูกพัน รวมถึงการโอนสิทธิเรียกร้องของ บตท. ไปให้แก่ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ตั้งแต่วันที่ 24 กันยายน 2563[59]การเงิน
22ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)กระทรวงการคลังกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดพ.ศ. 2509ธนาคารเกษตร จำกัด และธนาคารมณฑล จำกัด ต่อมาได้ควบรวมเข้าเป็นธนาคารเดียวกันตามนโยบายของรัฐบาลภายหลังเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2563 กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (ในฐานะผู้ถือหุ้นมากกว่าร้อยละ 50) ได้มีหนังสือแจ้งธนาคาร ในเรื่องที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาเกี่ยวกับสถานภาพของกองทุนฯ และธนาคารว่า ธนาคารไม่มีลักษณะเป็นรัฐวิสาหกิจการเงินต่อมาในวันที่ 3 มกราคม 2564 ธนาคารฯ กลับมาเป็นบทบาทมีลักษณะเป็นรัฐวิสาหกิจต่อไป ทำให้การสัดส่วนถือหุ้น เพิ่มขึ้น เป็น 51% ที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ส่งหนังสือฉบับต่อไปแล้ว[60]
23บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดพ.ศ. 2497เดิมคือ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ต่อมาเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545พ.ศ. 2564เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2564 ได้ดำเนินการควบรวมกิจการกันตามมติของคณะรัฐมนตรี จัดตั้งเป็น บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) โดยมีกระทรวงการคลังถือหุ้นทั้งหมด[61]สื่อสาร
24บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัดพ.ศ. 2546เดิมเป็นส่วนหนึ่งของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2520สื่อสาร

อ้างอิง


🔥 Top keywords: หน้าหลักสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024บางกอกคณิกาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เนติพร เสน่ห์สังคมวิทยาศาสตร์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)วันวิสาขบูชาวอลเลย์บอลลมเล่นไฟตารางธาตุอันดับโลกเอฟไอวีบีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์หมวดหมู่:จังหวัดของประเทศไทยไลเกอร์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยไอแซก นิวตันศาสนาพุทธราชวงศ์จักรีกาลิเลโอ กาลิเลอีประวัติศาสตร์ชาร์เลท วาศิตา แฮเมเนารายชื่อเครื่องดนตรีจังหวัดชัยนาทสังคายนาในศาสนาพุทธประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดนิวแคลิโดเนียวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยศาสนาพุทธในประเทศพม่าพระสุนทรโวหาร (ภู่)นริลญา กุลมงคลเพชร