รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศญี่ปุ่น

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศญี่ปุ่นทั้งสิ้น 25 แหล่ง[1] ประกอบด้วยมรดกโลกทางวัฒนธรรม 20 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติ 5 แห่ง

ที่ตั้ง

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก

แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกโลก
สถานที่ภาพที่ตั้งประเภทพื้นที่
ha (acre)
ปี (พ.ศ./ค.ศ.)หมายเหตุอ้างอิง
พุทธสถานในพื้นที่โฮรีวจิ จังหวัดนาระ  ญี่ปุ่น
34°37′0″N 135°44′0″E / 34.61667°N 135.73333°E / 34.61667; 135.73333 (Buddhist Monuments in the Horyu-ji Area)
วัฒนธรรม:
(i), (ii), (iv), (vi)
15 (37); พื้นที่กันชน 571 (1,410)2536/1993มีพุทธสถานราว 48 แห่งบริเวณโฮรีวจิ หลายแห่งสร้างมาตั้งแต่ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 ทำให้เป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างไม้ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ผลงานชิ้นเอกทางสถาปัตยกรรมไม้เหล่านี้มีความสำคัญไม่เพียงแต่แสดงถึงความเป็นมาของศิลปะการปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมจีนของญี่ปุ่น แต่ยังเป็นสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ทางศาสนาด้วย[2]
ฮิเมจิโจ จังหวัดเฮียวโงะ  ญี่ปุ่น
34°50′0″N 134°42′0″E / 34.83333°N 134.70000°E / 34.83333; 134.70000 (Himeji-jo)
วัฒนธรรม:
(i), (iv)
107 (260); พื้นที่กันชน 143 (350)2536/1993เป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดที่แสดงถึงสถาปัตยกรรมญี่ปุ่นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ประกอบด้วยอาคาร 83 แห่งที่มีระบบป้องกันขั้นสูงและอุปกรณ์ป้องกันที่ชาญฉลาดจากตอนต้นของยุคโชกุน เป็นผลงานชิ้นเอกในการก่อสร้างด้วยไม้ที่น่าสนใจทั้งในรูปลักษณ์ที่สง่างาม และความละเอียดอ่อนของความสัมพันธ์ระหว่างมวลอาคารกับชั้นหลังคาหลายชั้น[3]
อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ (นครเกียวโต, อูจิ และโอตสึ) จังหวัดเกียวโตและชิงะ  ญี่ปุ่น
34°58′50″N 135°46′10″E / 34.98056°N 135.76944°E / 34.98056; 135.76944 (Historic Monuments of Ancient Kyoto (Kyoto, Uji and Otsu Cities))
วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
1,056 (2,610); พื้นที่กันชน 3,579 (8,840)2537/1994สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 794 ตามรูปแบบเมืองหลวงของจีนโบราณ เกียวโตเป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่นจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในฐานะที่เป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมญี่ปุ่นมานานกว่าพันปี เกียวโตแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาสถาปัตยกรรมไม้ของญี่ปุ่นโดยเฉพาะสถาปัตยกรรมทางศาสนาและศิลปะของสวนญี่ปุ่นซึ่งมีอิทธิพลต่อภูมิทัศน์ในสวนทั่วโลก[4]
หมู่บ้านประวัติศาสตร์แห่งชิรากาวาโงและโกกายามะ จังหวัดกิฟุและโทยามะ  ญี่ปุ่น
36°24′0″N 136°53′0″E / 36.40000°N 136.88333°E / 36.40000; 136.88333 (Historic Villages of Shirakawa-go and Gokayama)
วัฒนธรรม:
(iv), (v)
68 (170); พื้นที่กันชน 58,873 (145,480)2538/1995[5]
อนุสรณ์สันติภาพฮิโรชิมะ (โดมปรมาณู) จังหวัดฮิโรชิมะ  ญี่ปุ่น
34°23′0″N 132°27′0″E / 34.38333°N 132.45000°E / 34.38333; 132.45000 (Hiroshima Peace Memorial (Genbaku Dome))
วัฒนธรรม:
(vi)
0.40 (0.99); พื้นที่กันชน 43 (110)2539/1996โดมปรมาณูเป็นโครงสร้างเพียงหนึ่งเดียวที่เหลืออยู่บริเวณที่เกิดระเบิดปรมาณูครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ไม่เพียงแต่เป็นสัญลักษณ์ที่แข็งแกร่งและทรงพลังของวัตถุที่ทำลายล้างมากที่สุดที่มนุษย์สร้างขึ้นในขณะนั้น ยังแสดงถึงความหวังในการสร้างสันติภาพของโลก และการกำจัดอาวุธนิวเคลียร์ทั้งหมดด้วย[6]
ศาลเจ้าชินโตอิตสึกูชิมะ จังหวัดฮิโรชิมะ  ญี่ปุ่น
34°17′40″N 132°19′29″E / 34.29444°N 132.32472°E / 34.29444; 132.32472 (Itsukushima Shinto Shrine)
วัฒนธรรม:
(i), (ii), (iv), (vi)
431 (1,070); พื้นที่กันชน 2,634 (6,510)2539/1996[7]
อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์นาระโบราณ จังหวัดนาระ  ญี่ปุ่น
34°40′32″N 135°50′22″E / 34.67556°N 135.83944°E / 34.67556; 135.83944 (Historic Monuments of Ancient Nara)
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (iv), (vi)
617 (1,520); พื้นที่กันชน 2,502 (6,180)2541/1998นาราเป็นเมืองหลวงของญี่ปุ่นในช่องปี ค.ศ. 710 ถึง 784 ปี ในช่วงนี้โครงสร้างของรัฐบาลแห่งชาติได้รับการรวมเข้าด้วยกันและนาราก็มีความเจริญรุ่งเรืองเป็นแหล่งกำเนิดของวัฒนธรรมญี่ปุ่น อนุสาวรีย์ทางประวัติศาสตร์ของเมือง - วัดทางพุทธศาสนาศาลเจ้าชินโตและซากศพที่ขุดขึ้นมาของพระราชวังอันยิ่งใหญ่ - แสดงภาพอันมีชีวิตชีวาของชีวิตในเมืองหลวงของญี่ปุ่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 8 ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและวัฒนธรรมอย่างลึกซึ้ง[8]
ศาลเจ้าและวัดแห่งนิกโก จังหวัดโทจิงิ  ญี่ปุ่น
36°44′51″N 139°36′38″E / 36.74750°N 139.61056°E / 36.74750; 139.61056 (Shrines and Temples of Nikko)
วัฒนธรรม:
(i), (iv), (vi)
51 (130); พื้นที่กันชน 373 (920)2542/1999ศาลเจ้าและวัดแห่งนิกโกพร้อมกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติในบริเวณมีมานานนับศตวรรษ เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่รู้จักกันเพราะผลงานชิ้นเอกด้านสถาปัตยกรรมและการตกแต่ง สถานที่แห่งนี้มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับประวัติศาสตร์ของรัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ[9]
แหล่งกูซูกุและทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องของอาณาจักรรีวกีว จังหวัดโอกินาวะ  ญี่ปุ่น
26°12′31″N 127°40′58″E / 26.20861°N 127.68278°E / 26.20861; 127.68278 (Gusuku Sites and Related Properties of the Kingdom of Ryukyu)
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (vi)
55 (140); พื้นที่กันชน 560 (1,400)2543/2000[10]
แหล่งศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางจาริกแสวงบุญในทิวเขาคิอิ จังหวัดนาระ วากายามะ และมิเอะ  ญี่ปุ่น
33°50′13″N 135°46′35″E / 33.83694°N 135.77639°E / 33.83694; 135.77639 (Sacred Sites and Pilgrimage Routes in the Kii Mountain Range)
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (vi), (vi)
495 (1,220); พื้นที่กันชน 1,137 (2,8102547/2004[11]
เหมืองเงินอิวามิและภูมิทัศน์วัฒนธรรม จังหวัดชิมาเนะ  ญี่ปุ่น
35°6′46″N 132°26′6″E / 35.11278°N 132.43500°E / 35.11278; 132.43500 (Iwami Ginzan Silver Mine and its Cultural Landscape)
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (v)
529 (1,310); พื้นที่กันชน 3,134 (7,7402550/2007[12]
ฮิราอิซูมิ–สวนและโบราณสถานอย่างพุทธเกษตร จังหวัดอิวาเตะ  ญี่ปุ่น
34°37′0″N 135°44′0″E / 34.61667°N 135.73333°E / 34.61667; 135.73333 (Hiraizumi – Temples, Gardens and Archaeological Sites Representing the Buddhist Pure Land)
วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
176 (430); พื้นที่กันชน 6,008 (14,850)2554/2011[13]
ฟูจิซัง-สถานที่ศักดิ์สิทธิ์และแหล่งที่มาของความบันดาลใจทางศิลปะ จังหวัดชิซูโอกะและยามานาชิ  ญี่ปุ่น
35°21′39″N 138°43′39″E / 35.36083°N 138.72750°E / 35.36083; 138.72750 (Fujisan, sacred place and source of artistic inspiration)
วัฒนธรรม:
(iii), (iv)
20,702 (51,160); พื้นที่กันชน 49,628 (122,630)2556/2013[14]
โรงงานทอผ้าโทมิโอกะและสถานที่ที่เกี่ยวข้อง จังหวัดกุมมะ  ญี่ปุ่น
วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
7.2; พื้นทีก่นชน 414.62557/2014[15]
แหล่งมรดกจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมของญี่ปุ่นในยุคเมจิ: การถลุงเหล็กและผลิตเหล็กกล้า การต่อเรือและการทำเหมืองถ่านหิน  ญี่ปุ่น
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (iv)
306.66; พื้นที่กันชน 2,408.332558/2015[16]
งานสถาปัตยกรรมของเลอกอร์บูซีเย คุณูปการอันโดดเด่นต่อขบวนการสมัยใหม่
(ร่วมกับ  เบลเยียม,  ฝรั่งเศส,  เยอรมนี,  สวิตเซอร์แลนด์,  อาร์เจนตินา และ  อินเดีย)
กรุงโตเกียว  ญี่ปุ่น
วัฒนธรรม:
(i) (ii) (vi)
2559/2016สถานที่ที่ขึ้นทะเบียนได้แก่ พิพิธภัณฑ์ศิลปะตะวันตกแห่งชาติ[17]
เกาะศักดิ์สิทธิ์โอกิโนชิมะและสถานที่ที่เกี่ยวข้องในภูมิภาคมูนากาตะ
จังหวัดฟูกูโอกะ  ญี่ปุ่น
วัฒนธรรม:
(ii) (iii)
98.93; พื้นที่กันชน 79,363.482560/2017โอกิโนชิมะตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกของเกาะคีวชูไป 60 กม. เป็นตัวอย่างที่โดดเด่นที่แสดงถึงประเพณีการสักการะบูชาบนเกาะ ที่มีความสมบูรณ์และให้ข้อมูลประวัติการจัดพิธีการตามพิธีการที่เปลี่ยนไปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 4 ถึง 9 บนเกาะเองยังมีวัตถุโบราณจำนวนมาก หลายชิ้นมีฝีมือประณีตและถูกนำมาจากต่างประเทศอันเป็นหลักฐานของการแลกเปลี่ยนระหว่างหมู่เกาะญี่ปุ่น คาบสมุทรเกาหลี และแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย[18]
แหล่งคริสเตียนลับในภูมิภาคนางาซากิ
จังหวัดนางาซากิ จังหวัดคูมาโมโตะ  ญี่ปุ่น
วัฒนธรรม:
(iii)
5,566.55; พื้นที่กันชน 12,252.522561/2018[19]
กลุ่มโคฟุงโมซุ-ฟูรูอิจิ : เนินสุสานญี่ปุ่นโบราณ
จังหวัดโอซะกะ  ญี่ปุ่น
วัฒนธรรม:
(iii) (iv)
166.66; พื้นที่กันชน 8902562/2019[20]
แหล่งยุคก่อนประวัติศาสตร์โจมงในภาคเหนือของญี่ปุ่น จังหวัดฮอกไกโด อาโอโมริ อิวาเตะ อกาเตะ  ญี่ปุ่น
วัฒนธรรม:
(iii) (v)
2564/2021[21]

แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกโลก
สถานที่ภาพที่ตั้งประเภทพื้นที่
ha (acre)
ปี (พ.ศ./ค.ศ.)หมายเหตุอ้างอิง
ยากูชิมะ จังหวัดคาโงชิมะ  ญี่ปุ่น
ธรรมชาติ:
(vii), (ix)
10,747 (26,560)2536/1993ยากูชิมะเป็นพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ มีตัวอย่างโบราณของ "ซูงิ" (ต้นซีดาร์ญี่ปุ่น) นอกจากนี้ยังมีป่าโบราณอันอบอุ่นที่ไม่เหมือนใครในภูมิภาคนี้[22]
ชิรากามิซันจิ จังหวัดอาโอโมริและอากิตะ  ญี่ปุ่น
40°28′12″N 140°7′48″E / 40.47000°N 140.13000°E / 40.47000; 140.13000 (Shirakami-Sanchi)
ธรรมชาติ:
(ix)
16,939 (41,860)2536/1993ตั้งอยู่ในภูเขาทางตอนเหนือของเกาะฮนชู เทือกเขานี้แสดงสภาพป่าที่เหลืออยู่ของป่าบีชที่ล้อมรอบเนินเขาในภาคเหนือของญี่ปุ่น ภายในมีหมีดำนกและนกสายพันธุ์ 87 ชนิด[23]
ชิเรโตโกะ ฮกไกโด  ญี่ปุ่น
43°56′58″N 144°57′57″E / 43.94944°N 144.96583°E / 43.94944; 144.96583 (Shiretoko National Park)
ธรรมชาติ:
(ix), (x)
71,100 (176,000)2548/2005[24]
หมู่เกาะโองาซาวาระ จังหวัดโตเกียว  ญี่ปุ่น
27°43′6″N 142°5′59″E / 27.71833°N 142.09972°E / 27.71833; 142.09972 (Ogasawara Islands)
ธรรมชาติ:
(ix)
7,939 (19,620)2554/2011[25]
เกาะอามามิโอชิมะ เกาะโทกูโนชิมะ ส่วนเหนือของเกาะโอกินาวะ และเกาะอิริโอโมเตะ จังหวัดคาโงชิมะ และโอกินาวะ  ญี่ปุ่น
ธรรมชาติ:
(x)
42,698; พื้นที่กันชน 24,4672564/2021[26]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น

ประเทศญี่ปุ่นมีสถานที่ที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 5 แห่ง[1]

ปี ค.ศ. ใน "วงเล็บ" หมายถึงปีที่สถานที่นั้น ๆ ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีรายชื่อเบื้องต้น
  • วัด ศาลเจ้า และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ของคามากูระโบราณ (1992)
  • ปราสาทฮิโกเนะ (1992)
  • อาซูกะ-ฟูจิวาระ: แห่งโบราณคดีของนครหลวงญี่ปุ่นโบราณและทรัพย์สินที่เกี่ยวข้อง (2007)
  • The Sado complex of heritage mines, primarily gold mines (2010)
  • ฮิราอิซูมิ (ส่วนต่อขยาย) (2012)

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง