วัฒนธรรมหินกวาง

หินกวาง (อังกฤษ: Deer stones) หรือ หินเรนเดียร์ (อังกฤษ: reindeer stones) หรือที่บางครั้งอรียก กลุ่มหินกวาง-คีรีกซูร์ (Deer stone-khirigsuur complex; DSKC) ควบคู่กับหมู่หลุมศพคีรีกซูร์[2] เป็นหินเดี่ยวก้อนใหญ่แกะสลักด้วยสัญลักณ์ซึ่งพบได้ส่วนใหญ่ในไซบีเรียและมองโกเลีย ชื่อ "กวาง" ในที่นี้มาจากการแกะสลักรูปกวางบิน หินกวางมีความเกี่ยวพันกับสมัยยุคสัมฤทธิ์ตอนปลายในแง่ของวิถีชีวิตและเทคโนโลยี[3]

วัฒนธรรมหินกวาง
ภูมิภาคไซบีเรียใต้, มองโกเลีย
สมัยยุคสัมฤทธิ์, ยุคโลหะตอนต้น
ช่วงเวลา1200 — 700 BCE[1]
ก่อนหน้าอาฟานาซีเอโว, เชมูร์เชก, ซักไซ
ถัดไปอาร์จัน, ชันด์มัน, ปาซือรึก
วัฒนธรรมแผ่นป้ายศพ

หินกวางเป็นส่วนหนึ่งของธรรมเนียมทางจิตวิญญาณในการสร้างหลุมศพนูนด้วยหินที่พบในมองโกเลียและพื้นที่โดยรอบมาตั้งแต่ยุคสัมฤทธิ์ (ca. 3000–700 BCE) วัฒนธรรมมากมายที่มีขอบเขตอยู่ในบริเวณนี้ และล้วนมีส่วนสร้างอนุสรณ์จากหินขนาดใหญ่ เช่น อาฟานาซีเอโว, เชมูร์เชก, มูนค์คาอีร์คาน และ อูลานซูค[4] วัฒนธรรมหินกวางมีอายุอยู่ระหว่าง 1200 ถึง 700 ปีก่อนคริสต์กาล และมีอยู่มาก่อนวัฒนธรรมแผ่นป้ายหลุมศพ[1]

ในมองโกเลีย หินกวางมักจะเกี่ยวเนื่องกันกับหลุมศพนูนคีรีกซูร์ และเป็นไปได้ว่ารวมกันเป็นส่วนหนึ่งของธรรมเนียมพิธีศพในระห่วาง 1200-700 ปีก่อนคริสต์กาล[5]

อ้างอิง

บรรณานุกรม

🔥 Top keywords: หน้าหลักสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024บางกอกคณิกาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เนติพร เสน่ห์สังคมวิทยาศาสตร์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)วันวิสาขบูชาวอลเลย์บอลลมเล่นไฟตารางธาตุอันดับโลกเอฟไอวีบีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์หมวดหมู่:จังหวัดของประเทศไทยไลเกอร์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยไอแซก นิวตันศาสนาพุทธราชวงศ์จักรีกาลิเลโอ กาลิเลอีประวัติศาสตร์ชาร์เลท วาศิตา แฮเมเนารายชื่อเครื่องดนตรีจังหวัดชัยนาทสังคายนาในศาสนาพุทธประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดนิวแคลิโดเนียวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยศาสนาพุทธในประเทศพม่าพระสุนทรโวหาร (ภู่)นริลญา กุลมงคลเพชร