ICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม

ICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม เป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดประเภทการเจ็บป่วยตามเกณฑ์เพื่อใช้บันทึกเพื่อรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติในการวางแผนสุขภาพในระดับสากล

บัญชีจำแนกโรค ICD-10
A00-B99โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค
C00-D48เนื้องอก
D50-D89เลือดและอวัยวะสร้างเลือด
E00-E90ต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึม
F00-F99ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม
G00-G99ระบบประสาท
H00-H59ตาและอวัยวะเคียงลูกตา
H60-H95หูและปุ่มกระดูกกกหู
I00-I99ระบบไหลเวียนโลหิต
J00-J99ระบบหายใจ
K00-K93ระบบย่อยอาหาร
L00-L99ผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
M00-M99กล้ามเนื้อโครงร่างและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
N00-N99ระบบสืบพันธุ์และระบบปัสสาวะ
O00-O99การตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอด
P00-P96ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิด
Q00-Q99รูปพิการและความผิดปกติของโครโมโซม
R00-R99ความผิดปกติจากทางคลินิกและห้องปฏิบัติการ
S00-T98การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และอุบัติเหตุ
V01-Y98สาเหตุภายนอก
Z00-Z99ปัจจัยที่มีผลต่อสถานะสุขภาพ
U00-U99รหัสเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ

Q00-Q89 - รูปผิดปกติแต่กำเนิด และรูปพิการ

  • (Q00) ไม่มีสมองใหญ่ และรูปผิดปกติที่คล้ายกัน
    • (Q00.0) ไม่มีสมองใหญ่
      • ไม่มีสมอง
      • ไม่มีกะโหลกศีรษะ
      • ไม่มีสมองและไขสันหลัง
      • ไม่มีศีรษะซีกหนึ่ง
      • ไม่มีสมองซีกหนึ่ง
    • (Q00.1) รอยแยกของกะโหลกศีรษะและกระดูกสันหลัง
    • (Q00.2) ความผิดปกติของสมองส่วนหลัง
  • (Q05) กระดูกสันหลังโหว่
      • เยื่อหุ้มไขสันหลังโป่งมีน้ำ
      • เยื่อหุ้มไขสันหลังโป่ง
      • เยื่อหุ้มไขสันหลังและไขสันหลังโป่ง
      • ไขสันหลังโป่ง
      • ไขสันหลังและเยื่อหุ้มไขสันหลังโป่ง
      • ไขสันหลังเป็นร่อง
      • ไขสันหลังโป่งเป็นหลอด
  • (Q11) ไม่มีลูกตา ลูกตาเล็ก และลูกตาโตกว่าปกติ
    • (Q11.0) ลูกตาเป็นถุงน้ำ
    • (Q11.1) ไม่มีลูกตาแบบอื่น
    • (Q11.2) ลูกตาเล็กผิดปกติ
    • (Q11.3) ลูกตาโตกว่าปกติ
  • (Q15) รูปผิดปกติแต่กำเนิดแบบอื่นของตา
    • (Q15.0) ต้อหินแต่กำเนิด
      • ลูกตาโตกว่าปกติ
      • ต้อหินในทารกแรกเกิด
      • มีน้ำในลูกตา
      • กระจกตาโตกลมแต่กำเนิด ร่วมกับมีต้อหิน
      • กระจกตาโตกว่าปกติ ร่วมกับมีต้อหิน
      • ตาโตกว่าปกติในต้อหินแต่กำเนิด
      • กระจกตาโตมาก ร่วมกับมีต้อหิน
  • (Q20) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของห้องหัวใจและช่องติดต่อ
    • (Q20.0) หลอดเลือดแดงร่วมกัน
      • ทรังคัส อาเทอริโอซัสยังคงอยู่
    • (Q20.1) หัวใจห้องล่างขวามีสองทางออก
      • กลุ่มอาการทอสซิก-บิง
    • (Q20.2) หัวใจห้องล่างซ้ายมีสองทางออก
    • (Q20.3) หลอดเลือดแดงติดต่อกับหัวใจห้องล่างสลับข้าง
      • หลอดเลือดเอออร์ตาย้ายข้างไปอยู่ด้านขวา
      • การย้ายข้างของหลอดเลือดใหญ่ (สมบูรณ์)
    • (Q20.4) หัวใจห้องล่างมีสองทางเข้า
    • (Q20.5) หัวใจห้องบนติดต่อกับหัวใจห้องล่างสลับข้าง
      • การย้ายข้างที่แก้ไขแล้ว
    • (Q20.6) หัวใจห้องบนเหมือนกันสองข้าง
  • (Q26) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของหลอดเลือดดำใหญ่
    • (Q26.0) หลอดเลือดวีนา คาวา ตีบแต่กำเนิด
    • (Q26.1) หลอดเลือดสุพีเรียวีนาคาวาด้านซ้ายยังคงอยู่
    • (Q26.2) ความผิดปกติทั้งหมดของการต่อหลอดเลือดดำของปอด
    • (Q26.3) ความผิดปกติบางส่วนของการต่อหลอดเลือดดำของปอด
    • (Q26.4) ความผิดปกติของการต่อหลอดเลือดดำของปอด ไม่ระบุรายละเอียด
    • (Q26.5) ความผิดปกติของการต่อหลอดเลือดดำของตับ
    • (Q26.6) ทางทะลุระหว่างหลอดเลือดดำพอร์ตัลกับหลอดเลือดแดงเฮปปาติก
    • (Q26.8) รูปผิดปกติแต่กำเนิดแบบอื่นของหลอดเลือดดำใหญ่
      • กลุ่มอาการซิมิทาร์
    • (Q26.9) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของหลอดเลือดดำใหญ่ ไม่ระบุรายละเอียด
  • (Q42) การไม่มี ตัน และตีบแต่กำเนิดของลำไส้ใหญ่
    • (Q42.0) การไม่มี ตัน และตีบแต่กำเนิดของลำไส้ตรงร่วมกับมีทางทะลุ
    • (Q42.1) การไม่มี ตัน และตีบแต่กำเนิดของลำไส้ตรงร่วมกับไม่มีทางทะลุ
      • ลำไส้ตรงไม่มีรูเปิด
    • (Q42.2) การไม่มี ตัน และตีบแต่กำเนิดของทวารหนักร่วมกับมีทางทะลุ
    • (Q42.3) การไม่มี ตัน และตีบแต่กำเนิดของทวารหนักร่วมกับไม่มีทางทะลุ
      • ทวารหนักไม่มีรูเปิด
    • (Q42.8) การไม่มี ตัน และตีบแต่กำเนิดของส่วนอื่นของลำไส้เล็ก
    • (Q42.9) การไม่มี ตัน และตีบแต่กำเนิดของลำไส้ใหญ่ ไม่ระบุส่วน
  • (Q53) อัณฑะไม่ลงถุง
  • (Q54) รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านล่าง
    • (Q54.0) รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านล่างของหัวองคชาต
    • (Q54.1) รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านล่างของตัวองคชาต
    • (Q54.2) รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านล่างระหว่างองคชาตกับถุงอัณฑะ
    • (Q54.3) รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านล่างบริเวณฝีเย็บ
    • (Q54.4) องคชาตโค้งงอแต่กำเนิด
    • (Q54.8) รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านล่างแบบอื่น
    • (Q54.9) รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านล่าง ไม่ระบุรายละเอียด
  • (Q56) ระบุเพศไม่ได้และกะเทยเทียม
    • (Q56.0) กะเทย มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • (Q56.1) กะเทยเทียมเพศชาย มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • (Q56.2) กะเทยเทียมเพศหญิง มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • (Q56.3) กะเทยเทียม ไม่ระบุรายละเอียด
    • (Q56.4) ระบุเพศไม่ได้ ไม่ระบุรายละเอียด
  • (Q60) ไม่มีการสร้างไตและความบกพร่องอื่นของการสร้างไต
    • (Q60.0) ไม่มีการสร้างไต ข้างเดียว
    • (Q60.1) ไม่มีการสร้างไต สองข้าง
    • (Q60.2) ไม่มีการสร้างไต ไม่ระบุรายละเอียด
    • (Q60.3) การเจริญบกพร่องของไต ข้างเดียว
    • (Q60.4) การเจริญบกพร่องของไต สองข้าง
    • (Q60.6) การเจริญบกพร่องของไต ไม่ระบุรายละเอียด
    • (Q60.7) กลุ่มอาการพอตเตอร์
  • (Q61) โรคถุงน้ำของไต
    • (Q61.0) ถุงน้ำเดียวแต่กำเนิดของไต
    • (Q61.1) ถุงน้ำจำนวนมากของไต ถ่ายทอดทางออโตโซมลักษณะด้อย
    • (Q61.2) ถุงน้ำจำนวนมากของไต ถ่ายทอดทางออโตโซมลักษณะเด่น
    • (Q61.3) ถุงน้ำจำนวนมากของไต ไม่ระบุรายละเอียด
    • (Q61.4) การเจริญผิดปกติของไต
    • (Q61.5) ถุงน้ำของไตส่วนใน
    • (Q61.8) โรคถุงน้ำแบบอื่นของไต
    • (Q61.9) โรคถุงน้ำของไต ไม่ระบุรายละเอียด
      • กลุ่มอาการเม็คเกล-กรูเบอร์

(Q65-Q79) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของระบบกล้ามเนื้อและโครงร่าง

  • (Q65) รูปพิการแต่กำเนิดของข้อสะโพก
    • (Q65.0) ข้อสะโพกหลุดแต่กำเนิด ข้างเดียว
    • (Q65.1) ข้อสะโพกหลุดแต่กำเนิด สองข้าง
    • (Q65.2) ข้อสะโพกหลุดแต่กำเนิด ไม่ระบุรายละเอียด
    • (Q65.3) ข้อสะโพกเคลื่อนแต่กำเนิด ข้างเดียว
    • (Q65.4) ข้อสะโพกเคลื่อนแต่กำเนิด สองข้าง
    • (Q65.5) ข้อสะโพกเคลื่อนแต่กำเนิด ไม่ระบุรายละเอียด
    • (Q65.6) ข้อสะโพกไม่เสถียร
    • (Q65.8) รูปพิการแต่กำเนิดแบบอื่นของข้อสะโพก
    • (Q65.9) รูปพิการแต่กำเนิดของข้อสะโพก ไม่ระบุรายละเอียด
  • (Q70) นิ้วติดกัน
    • (Q70.0) นิ้วมือติดกัน
    • (Q70.1) นิ้วมือมีแผ่นขวาง
    • (Q70.2) นิ้วเท้าติดกัน
    • (Q70.3) นิ้วเท้ามีแผ่นขวาง
    • (Q70.4) นิ้วเกินและติดกัน
    • (Q70.9) นิ้วติดกัน ไม่ระบุรายละเอียด
  • (Q73) ความบกพร่องแบบลดลงของแขนขา ที่ไม่ระบุว่าแขนหรือขา
    • (Q73.0) ไม่มีแขนขาแต่กำเนิด ไม่ระบุว่าแขนหรือขา
      • ไม่มีแขนขา มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
    • (Q73.1) ไม่มีแขนขาแต่มีมือหรือเท้าติดลำตัว ไม่ระบุว่าแขนหรือขา
    • (Q73.8) ความบกพร่องแบบลดลงอื่นที่ไม่ระบุว่าของแขนหรือขา
      • ไม่มีแขนขาบางส่วน มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ไม่มีแขนขาครึ่งหนึ่ง มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ความบกพร่องแบบลดลงของแขนขา มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
  • (Q77) การเจริญผิดปกติของกระดูกและกระดูกอ่อนร่วมกับการเติบโตบกพร่องของกระดูกท่อและกระดูกสันหลัง
    • (Q77.0) ไม่มีการสร้างกระดูกอ่อน
      • การสร้างกระดูกอ่อนบกพร่อง
    • (Q77.1) ตัวเตี้ยแบบไม่สามารถรอดชีวิตได้
    • (Q77.2) กลุ่มอาการกระดูกซี่โครงสั้น
      • กระดูกทรวงอกเจริญผิดปกติทำให้ขาดอากาศหายใจ (จีอูน)
    • (Q77.3) การเจริญผิดปกติของกระดูกอ่อนทำให้เอพิไฟซิสเกิดเป็นจุด
    • (Q77.4) กระดูกอ่อนไม่เจริญ
      • กระดูกอ่อนเจริญน้อย
      • ออสติโอสเกลอโรซิส คอนเจนิตา
    • (Q77.5) กระดูกเจริญผิดปกติแบบโค้งงอ
    • (Q77.6) กระดูกอ่อนและเอ็กโตเดอร์มเจริญผิดปกติ
      • กลุ่มอาการเอลลิส-แวน เครเวลด์
    • (Q77.7) เอพิไฟซิสของกระดูกสันหลังเจริญผิดปกติ
    • (Q77.8) การเจริญผิดปกติแบบอื่นของกระดูกและกระดูกอ่อนร่วมกับการเติบโตบกพร่องของกระดูกท่อและกระดูกสันหลัง
    • (Q77.9) การเจริญผิดปกติของกระดูกและกระดูกอ่อนร่วมกับการเติบโตบกพร่องของกระดูกท่อและกระดูกสันหลัง ไม่ระบุรายละเอียด
  • (Q78) การเจริญผิดปกติแบบอื่นของกระดูกและกระดูกอ่อน
    • (Q78.0) การสร้างกระดูกไม่สมบูรณ์
      • ฟราจิลิตาส ออสเซียม
      • ออสติโอไทโรซีส
    • (Q78.1) การเจริญผิดปกติของเนื้อเยื่อเส้นใยกระดูกหลายท่อน
    • (Q78.2) ออสติโอพิโทรซิส
      • กลุ่มอาการอัลเบอส์-เชินเบอร์ก
    • (Q78.3) การเจริญผิดปกติแบบก้าวหน้าของไดอะไฟซิส
      • กลุ่มอาการคามูราติ-เองเกิลมานน์
    • (Q78.4) เอ็นคอนโดรมาโตซิส
      • กลุ่มอาการมาฟฟุสสิ
      • โรคออลลิเออร์
    • (Q78.5) การเจริญผิดปกติของเมตะไฟซิส
      • กลุ่มอาการไพล์
    • (Q78.6) กระดูกงอกแต่กำเนิดหลายแห่ง
      • กระดูกงอกหลายแห่ง
    • (Q78.8) การเจริญผิดปกติของกระดูกและกระดูกอ่อนแบบอื่นที่ระบุรายละเอียด
      • กระดูกเจริญไม่สม่ำเสมอ
    • (Q78.9) การเจริญผิดปกติของกระดูกและกระดูกอ่อน ไม่ระบุรายละเอียด
      • กระดูกอ่อนเจริญผิดเพี้ยน มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • กระดูกเจริญผิดเพี้ยน มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
  • (Q80) โรคผิวหนังเกล็ดปลาแต่กำเนิด
    • (Q80.0) โรคผิวหนังเกล็ดปลาแบบสามัญ
    • (Q80.1) โรคผิวหนังเกล็ดปลาที่เกี่ยวกับโครโมโซมเอกซ์
    • (Q80.2) โรคผิวหนังเกล็ดปลาแบบแผ่นบาง
    • (Q80.3) โรคผิวหนังเกล็ดปลาสีแดงมีตุ่มน้ำแต่กำเนิด
    • (Q80.4) เด็กดักแด้
    • (Q80.8) โรคผิวหนังเกล็ดปลาแต่กำเนิดแบบอื่น
    • (Q80.9) โรคผิวหนังเกล็ดปลาแต่กำเนิด ไม่ระบุรายละเอียด
  • (Q81) ผิวหนังกำพร้าพุพอง
    • (Q81.0) ผิวหนังกำพร้าพุพองชนิดซิมเพล็กซ์
    • (Q81.1) ผิวหนังกำพร้าพุพองชนิดร้ายแรง
    • (Q81.2) ผิวหนังกำพร้าพุพองชนิดดิสโทรฟิกา
    • (Q81.8) ผิวหนังกำพร้าพุพองชนิดอื่น
    • (Q81.9) ผิวหนังกำพร้าพุพอง ไม่ระบุรายละเอียด
  • (Q82) รูปผิดปกติแต่กำเนิดแบบอื่นของผิวหนัง
    • (Q82.0) บวมน้ำเหลืองที่เป็นกรรมพันธุ์
    • (Q82.1) ผิวหนังแห้งและสีเข้ม
    • (Q82.2) มาสโตไซโตซิส
      • เออร์ติคาเรีย พิกเมนโตซา
    • (Q82.3) อินคอนติเนนเตีย พิกเมนไต
    • (Q82.4) ผิวหนังชั้นนอกเจริญผิดปกติ (ไม่มีเหงื่อ)
    • (Q82.5) ไฝหรือปานแต่กำเนิดที่ไม่ใช่เนื้องอก
      • ตำหนิแต่กำเนิด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ปานแดง / ปานพอร์ตไวน์
      • ปานมีเลือดมาก
      • ปานสตรอเบอรรี่
      • ปานหลอดเลือด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ปานขรุขระ
    • (Q82.8) รูปผิดปกติแต่กำเนิดแบบอื่นที่ระบุรายละเอียดของผิวหนัง
      • เส้นลายฝ่ามือผิดปกติ
      • ติ่งหนังเกิน
      • ตุ่มน้ำไม่ร้ายที่ผิวหนังชนิดเป็นกรรมพันธุ์ (โรคไฮเลย์-ไฮเลย์)
      • หนังเหี่ยว (ยืดหยุ่นมากไป)
      • ความผิดปกติลายเส้นที่ผิวหนัง
      • ฝ่ามือฝ่าเท้าหนาชนิดเป็นกรรมพันธุ์
      • รูขุมขนหนาผิดปกติ (ดาริเออร์-ไวท์)
    • (Q82.9) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของผิวหนัง ไม่ระบุรายละเอียด
  • (Q87) กลุ่มอาการรูปผิดปกติแต่กำเนิดแบบอื่นที่ระบุรายละเอียดที่มีผลต่อหลายระบบ
    • (Q87.0) กลุ่มอาการรูปผิดปกติแต่กำเนิดที่มีผลเด่นต่อลักษณะของใบหน้า
      • หัวหลิมร่วมกับนิ้วเกินและติดกัน (เอเพอร์ท)
      • กลุ่มอาการไม่มีลูกตา
      • มีตาเดียว
      • กลุ่มอาการโกลเดนฮาร์
      • กลุ่มอาการโมเบียส
      • กลุ่มอาการปาก-หน้า-นิ้ว
      • กลุ่มอาการโรบิน
      • กลุ่มอาการเทรเชอร์คอลลินส์
      • หน้าผิวปาก

Q90-Q99 - ความผิดปกติของโครโมโซม มิได้จำแนกไว้ที่ใด

  • (Q92) แฝดสามและแฝดสามบางส่วนชนิดอื่นของโครโมโซมที่ไม่ใช่โครโมโซมเพศ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • (Q92.0) แฝดสามของทั้งโครโมโซม ไม่มีการแยกตัวในระยะไมโอซีส
    • (Q92.1) แฝดสามของทั้งโครโมโซมแบบโมเซอิก (ไม่มีการแยกตัวในระยะไมโตซีส)
    • (Q92.2) แฝดสามบางส่วนของโครโมโซม ชนิดรุนแรง
    • (Q92.3) แฝดสามบางส่วนของโครโมโซม ชนิดไม่รุนแรง
    • (Q92.4) พบคู่แฝดโครโมโซมเฉพาะในระยะโปรเมตาเฟส
    • (Q92.5) มีคู่แฝดโครโมโซมร่วมกับการจัดตัวใหม่อย่างซับซ้อน
    • (Q92.6) โครโมโซมมีเครื่องหมายพิเศษ
    • (Q92.7) โครโมโซมมีสามชุดและหลายชุด
    • (Q92.8) แฝดสามและแฝดสามบางส่วนชนิดอื่นที่ระบุรายละเอียดของโครโมโซมที่ไม่ใช่โครโมโซมเพศ
    • (Q92.9) แฝดสามและแฝดสามบางส่วนของโครโมโซมที่ไม่ใช่โครโมโซมเพศ ไม่ระบุรายละเอียด
  • (Q93) โครโมโซมเดี่ยวและการขาดหายจากโครโมโซมที่ไม่ใช่โครโมโซมเพศ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • (Q93.0) โครโมโซมเดี่ยว ไม่มีการแยกตัวในระยะไมโอซีส
    • (Q93.1) โครโมโซมเดี่ยวแบบโมเซอิก (ไม่มีการแยกตัวในระยะไมโตซีส)
    • (Q93.2) โครโมโซมถูกแทนที่ด้วยโครโมโซมชนิดวงแหวนหรือชนิดแขนสองข้างเหมือนกัน
    • (Q93.3) แขนสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 4 หายไป
      • กลุ่มอาการโวลฟ์-เฮิร์สเชิร์น
    • (Q93.4) แขนสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 5 หายไป
    • (Q93.5) ส่วนอื่นของโครโมโซมหายไป
    • (Q93.6) การขาดหายของโครโมโซมพบเฉพาะในระยะโปรเมตาเฟส
    • (Q93.7) การขาดหายของโครโมโซมร่วมกับการจัดตัวใหม่อย่างซับซ้อน
    • (Q93.8) การขาดหายแบบอื่นจากโครโมโซมที่ไม่ใช่โครโมโซมเพศ
    • (Q93.9) การขาดหายจากโครโมโซมที่ไม่ใช่โครโมโซมเพศ ไม่ระบุรายละเอียด
  • (Q95) การจัดตัวใหม่และเครื่องหมายโครงสร้างที่สมดุลของโครโมโซม มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • (Q95.0) การเคลื่อนย้ายและการสอดแทรกที่สมดุลของโครโมโซมในคนปกติ
    • (Q95.1) โครโมโซมพลิกกลับในคนปกติ
    • (Q95.2) การจัดตัวใหม่ที่สมดุลของโครโมโซมที่ไม่ใช่โครโมโซมเพศในคนผิดปกติ
    • (Q95.3) การจัดตัวใหม่ที่สมดุลของโครโมโซมเพศและโครโมโซมที่ไม่ใช่โครโมโซมเพศในคนผิดปกติ
    • (Q95.4) เครื่องหมายบนโครโมโซมมีโครมาตินไม่เป็นเนื้อเดียวกัน
    • (Q95.5) มีตำแหน่งเปราะบางบนโครโมโซม
    • (Q95.8) การจัดตัวใหม่และเครื่องหมายโครงสร้างที่สมดุลแบบอื่นของโครโมโซม
    • (Q95.9) การจัดตัวใหม่และเครื่องหมายโครงสร้างที่สมดุลของโครโมโซม ไม่ระบุรายละเอียด

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: หน้าหลักสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024บางกอกคณิกาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เนติพร เสน่ห์สังคมวิทยาศาสตร์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)วันวิสาขบูชาวอลเลย์บอลลมเล่นไฟตารางธาตุอันดับโลกเอฟไอวีบีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์หมวดหมู่:จังหวัดของประเทศไทยไลเกอร์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยไอแซก นิวตันศาสนาพุทธราชวงศ์จักรีกาลิเลโอ กาลิเลอีประวัติศาสตร์ชาร์เลท วาศิตา แฮเมเนารายชื่อเครื่องดนตรีจังหวัดชัยนาทสังคายนาในศาสนาพุทธประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดนิวแคลิโดเนียวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยศาสนาพุทธในประเทศพม่าพระสุนทรโวหาร (ภู่)นริลญา กุลมงคลเพชร