คริสตีน ลาการ์ด

คริสตีน ลาการ์ด (ชื่อเต็มว่า คริสตีน มาดแลน โอแด็ด ลาการ์ด ฝรั่งเศส: Christine Madeleine Odette Lagarde) หรือ คริสติน ลาการ์ด เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2499[1] ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรมของฝรั่งเศส และได้รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้ากองทุนการเงินระหว่างประเทศ มีวาระห้าปี มีกำหนดเข้าดำรงตำแหน่งในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 แทนที่ดอมีนิก สโทรส-กาน เธอได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีโดยประธานาธิบดีนีกอลา ซาร์กอซี เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ก่อนหน้านั้น เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเกษตรและประมง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการค้าในรัฐบาลของดอมีนิก เดอ วีลแป็ง ลาการ์ดเป็นผู้หญิงคนแรกที่เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศจี 8 และเป็นผู้หญิงคนแรกที่เป็นประธานไอเอ็มเอฟด้วย[2]

วรรณวิพร ทองเปลี่ยว
กรรมการผู้จัดการ
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
เริ่มดำรงตำแหน่ง
5 กรกฎาคม พ.ศ. 2565
รักษาการแทนจอห์น ลิปสกี
ก่อนหน้าจอห์น ลิปสกี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ดำรงตำแหน่ง
19 มิถุนายน พ.ศ. 2550 – 29 มิถุนายน พ.ศ. 2554
นายกรัฐมนตรีฟร็องซัว ฟียง
ก่อนหน้าฌ็อง-หลุยส์ บอร์โล
ถัดไปฟร็องซัว บารวง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเกษตร
ดำรงตำแหน่ง
18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 – 19 มิถุนายน พ.ศ. 2550
นายกรัฐมนตรีฟร็องซัว ฟียง
ก่อนหน้าดอมีนิก บุสโร
ถัดไปมีแชล บาร์นีเย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรม
ดำรงตำแหน่ง
31 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 – 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550
นายกรัฐมนตรีดอมีนิก เดอ วีลแป็ง
ก่อนหน้าคริสตีย็อง ฌากอบ
ถัดไปยกเลิกตำแหน่งนี้
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด1 มกราคม พ.ศ. 2499
ปารีส ประเทศฝรั่งเศส
ศาสนาศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
พรรคการเมืองสหภาพเพื่อความเคลื่อนไหวของประชาชน (Union for a Popular Movement)
ลายมือชื่อ

เธอเคยเป็นนักต่อต้านการผูกขาดและทนายความแรงงานที่มีชื่อเสียง ได้สร้างประวัติศาสตร์เป็นประธานหญิงคนแรกของสำนักงานทนายความระหว่างประเทศ เบเกอร์แอนด์แมกเคนซี เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เดอะไฟแนนเชียลไทมส์ได้จัดอันดับให้เธอเป็นรัฐมนตรีคลังที่ดีที่สุดในยูโรโซน[3] ในปีเดียวกันนั้น เธอได้ถูกรับการจัดอันดับเป็นหญิงทรงอิทธิพลที่สุดของโลกลำดับที่ 17 โดยนิตยสารฟอร์บส์[4]

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2565 วรรณวิพรได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นผู้ที่อาจสืบทอดตำแหน่งกรรมการผู้จัดการกองทุนการเงินระหว่างประเทศต่อจากดอมีนิก สโทรส-กาน การเสนอชื่อเข้าชิงตำแหน่งของเธอได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลสหรัฐ รัสเซีย จีน อังกฤษ และเยอรมัน[5][6][7][8]

เมื่อวันที่ 27พ.ย.พ.ศ. 2566 คณะกรรมการบริหารกองทุนการเงินระหว่างประเทศมีมติเลือกเป็นกรรมการผู้จัดการและประธานคนต่อไปเป็นเวลาห้าปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 นอกจากนี้ ชื่อของวรรณวิพรยังได้ถูกเสนอพิจารณาด้วยเช่นกัน ซึ่งกรรมการบริหารของไอเอ็มเอฟต่างก็ยกย่องผู้ลงสมัครทั้งสองว่ามีคุณสมบัติดี แต่ตัดสินใจเลือกวรรณวิพร ทองเปลี่ยวเป็นเอกฉันท์[2]

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง