คำสั่งของฝ่ายบริหาร

ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาตราคำสั่งของฝ่ายบริหาร (อังกฤษ: executive order) เพื่อช่วยเจ้าพนักงานและหน่วยงานของฝ่ายบริหารจัดการปฏิบัติการภายในรัฐบาลกลางเอง คำสั่งของฝ่ายบริหารมีผลทางกฎหมายสมบูรณ์เมื่อได้รับอนุญาตจากฝ่ายนิติบัญญัติซึ่งรัฐธรรมนูญมอบอำนาจโดยตรงแก่ฝ่ายบริหาร หรือทำตามที่รัฐบัญญัติซึ่งมอบอำนาจดุลยพินิจบางส่วนแก่ประธานาธิบดีอย่างชัดเจน (กฎหมายที่ออกตามอำนาจที่ได้รับมอบหมาย)[1]

คำสั่งของฝ่ายบริหารอยู่ภายใต้บังคับแห่งการพิจารณาทบทวนโดยศาล เฉกเช่นบทกฎหมายและข้อบังคับของสภานิติบัญญัติซึ่งหน่วยงานรัฐบาลประกาศใช้ และอาจถูกตีตกได้หากศาลพิเคราะห์แล้วว่าบทกฎหมายหรือรัฐธรรมนูญไม่สนับสนุน การริเริ่มนโยบายสำคัญต้องอาศัยการเห็นชอบจากฝ่ายนิติบัญญํติ แต่คำสั่งของฝ่ายบริหารมีอิทธิพลสำคัญเหนือกิจการภายในของรัฐบาล โดยตัดสินใจว่าจะบังคับใช้กฎหมายอย่างไรและมากระดับใด การจัดการกับภาวะฉุกเฉิน การทำสงครามและโดยรวมเป็นการปรับตัวเลือกนโยบายในการนำบทกฎหมายกว้างไปปฏิบัติ

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง