ดาดาภาอี นาวโรจี

ดาดาภาอี นาวโรจี (คุชราต: દાદાભાઈ નવરોજી; อักษรละติน: Dadabhai Naoroji; 4 กันยายน 1825 – 30 มิถุนายน 1917) เป็นผู้นำทางการเมือง, พ่อค้า, นักวิชาการ และนักเขียนชาวอินเดีย สมาชิกรัฐสภาอังกฤษในสภาสามัญชนจากพรรคเสรีนิยม ดำรงตำแหน่งในปี ค.ศ. 1892 ถึง 1895 ถือเป็นชาวเอเชียคนแรกที่เป็นสมาชิกรัฐสภาอังกฤษ[1][2] ในอินเดียเขาร่วมก่อตั้งพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดียและดำรงตำแหน่งเป็นประธานพรรคในปี ค.ศ. 1886, 1893, 1906[3]

ดิออนอเรเบิล
ดาดาภาอี นาวโรจี
Dadabhai Naoroji c. 1889
สมาชิกรัฐสภาอังกฤษ ผู้แทนเขตฟินสบรีเซนทรอล
ดำรงตำแหน่ง
1892–1895
ก่อนหน้าเฟรดดริก ธอมัส เพนทอน
ถัดไปวิลเลียม เฟรดดริก บาร์ทัน มัสซีย์-เมนวาริง
คะแนนเสียง5
ประธานพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดีย คนที่ 2 และ 9
ดำรงตำแหน่ง
1886–1887
ก่อนหน้าโวเมศ จันทระ พันนารจี
ถัดไปบาดรุดดีน ตยาบจี
ดำรงตำแหน่ง
1893–1894
ก่อนหน้าโวเมศ จันทระ พันนารจี
ถัดไปอัลเฟรด เว็บบ์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
ดาดาภาอี นาวโรจี โดรดี

4 กันยายน ค.ศ. 1825(1825-09-04)
นวสรี รัฐบอมเบย์ บริติชอินเดีย
เสียชีวิต30 มิถุนายน พ.ศ. 1917 (อายุ 92 ปี)
บอมเบย์ รัฐบอมเบย์ บริติชอินเดีย
เชื้อชาติบริติชอินเดียนซับเจ๊กต์
พรรคการเมืองเสรีนิยม
การเข้าร่วม
พรรคการเมืองอื่น
ผู้ร่สมก่อตั้งคองเกรสแห่งชาติอินเดีย
คู่สมรสGulbaai
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมุมไบ
อาชีพ
  • นักการเมือง
  • พ่อค้า
  • นักวิชาการ
  • นักเขียน
ลายมือชื่อ

หนังสือของเขา Poverty and Un-British Rule in India (การปกครองความยากจนและความไม่เป็นอังกฤษในอินเดีย)[2] ทำให้เกิดความสนใจในทฤษฎีของเขาว่าด้วยการ "รั่วไหลของความมั่งคั่ง" (wealth drain) จากอินเดียไปสู่อังกฤษ นาวโรจีเคยเป็นสมาชิกของสากลที่สองร่วมกับทั้งกาวต์สกี และ เปลคานอฟ

ในปี ค.ศ. 2014 รองนายกรัฐมนตรี นิก เคลก ริเริ่ม "รางวัลดาดาภาอี นาวโรจี เพื่อความสัมพันธ์ระหว่างสหราชอาณาจักรกับอินเดีย" ("Dadabhai Naoroji Awards for services to UK-India relations")[4] มีการให้เกียรตินำภาพของนาวโรจีมาพิมพ์เป็นดวงตราไปรษณียากรของไปรษณีย์อินเดียในปี ค.ศ. 1963, 1997 และ 2017[5][6]

อ้างอิง

อ่านเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

Wikiquote
วิกิคำคมภาษาอังกฤษ มีคำคมที่กล่าวโดย หรือเกี่ยวกับ: ดาดาภาอี นาวโรจี


ก่อนหน้าดาดาภาอี นาวโรจีถัดไป
รัฐสภาสหราชอาณาจักร
สมัยก่อนหน้า
เฟรดดริก ธอมัส เพนทอน
สมาชิกรัฐสภาประจำเขตฟินสบรีเซนทรอล
1892–1895
สมัยต่อมา
วิลเลียม เฟรดดริก บาร์ทัน
มัสซีย์-เมนวาริง
ตำแหน่งทางการเมือง
สมัยก่อนหน้า
โวเมศ จันทระ พันนารจี
ประธานพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดีย
1886
สมัยต่อมา
บาดรุดดีน ตยาบจี
ประธานพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดีย
1893
สมัยต่อมา
อัลเฟรด เว็บบ์
สมัยก่อนหน้า
โคปาล กฤษณะ โคขเล
ประธานพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดีย
1906
สมัยต่อมา
ราษ พิหารี โฆษ


🔥 Top keywords: หน้าหลักสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024บางกอกคณิกาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เนติพร เสน่ห์สังคมวิทยาศาสตร์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)วันวิสาขบูชาวอลเลย์บอลลมเล่นไฟตารางธาตุอันดับโลกเอฟไอวีบีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์หมวดหมู่:จังหวัดของประเทศไทยไลเกอร์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยไอแซก นิวตันศาสนาพุทธราชวงศ์จักรีกาลิเลโอ กาลิเลอีประวัติศาสตร์ชาร์เลท วาศิตา แฮเมเนารายชื่อเครื่องดนตรีจังหวัดชัยนาทสังคายนาในศาสนาพุทธประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดนิวแคลิโดเนียวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยศาสนาพุทธในประเทศพม่าพระสุนทรโวหาร (ภู่)นริลญา กุลมงคลเพชร