ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน (อังกฤษ: ASEAN Football Federation Championship) หรือ อาเซียน มิตซูบิชิ อิเล็กทริค คัพ (ASEAN Mitsubishi Electric Cup) หรือเรียกย่อกันว่า อาเซียนคัพ เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน จัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี โดย สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (ASEAN Football Federation) หรือ เอเอฟเอฟ (AFF) เริ่มการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1996 ภายใต้ชื่อ ไทเกอร์คัพ (Tiger Cup) เนื่องจากมีผู้สนับสนุนหลักคือ เบียร์ไทเกอร์ จากประเทศสิงคโปร์ ภายหลังในปี ค.ศ. 2007 เบียร์ไทเกอร์ได้ยกเลิกการสนับสนุน จึงเปลี่ยนชื่อเป็น อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ แต่เปลี่ยนชื่อได้ 1 ปี ซูซูกิ ก็เข้ามาเป็นผู้สนับสนุนใหม่ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ (AFF Suzuki Cup) สืบมาจนถึงปี ค.ศ. 2022 มิตซูบิชิ อิเล็กทริค จึงเข้ามาเป็นผู้สนับสนุนใหม่แทน และเปลี่ยนชื่อเป็น เอเอฟเอฟ มิตซูบิชิ อิเล็กทริค คัพ (AFF Mitsubishi Electric Cup) และใช้ชื่อนี้เพียงครั้งเดียวก่อนเปลี่ยนเป็น อาเซียน มิตซูบิชิ อิเล็กทริค คัพ มาจนถึงปัจจุบัน

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน
สัญลักษณ์ใช้ตั้งแต่ ซูซูกิ คัพ 2018
ก่อตั้งพ.ศ. 2539; 28 ปีที่แล้ว (2539)
ภูมิภาคอาเซียน (เอเอฟเอฟ)
จำนวนทีม11 (รวม)
10 (รอบสุดท้าย)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติไทย ไทย
(ชนะเลิศครั้งที่ 7)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติไทย ไทย
(ชนะเลิศ 7 ครั้ง)
เว็บไซต์affmitsubishielectriccup.com
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2022
การแข่งขัน

ผู้ชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนทั้ง 14 ครั้งนั้นมีทีมชนะเลิศเพียง 4 ชาติคือ ไทย 7 ครั้ง สิงคโปร์ 4 ครั้ง เวียดนาม 2 ครั้ง และมาเลเซีย 1 ครั้ง

ผู้สนับสนุน

ปีผู้สนับสนุนชื่อการแข่งขัน
1996-2004เบียร์ไทเกอร์ไทเกอร์คัพ
2007ไม่มีชื่อผู้สนับสนุนเอเอฟเอฟ แชมเปียนชิพ
2008-2020ซูซูกิเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ[1]
2022มิตซูบิชิ อิเล็กทริคเอเอฟเอฟ มิตซูบิชิ อิเล็กทริค คัพ[2]
2024-ปัจจุบันอาเซียน มิตซูบิชิ อิเล็กทริค คัพ[3]

ผลการแข่งขัน

ปีเจ้าภาพนัดชิงชนะเลิศนัดชิงอันดับ 3จำนวนทีม
ชนะเลิศผลการแข่งขันรองชนะเลิศอันดับที่ 3ผลการแข่งขันอันดับที่ 4
1996  สิงคโปร์
ไทย
1–0
มาเลเซีย

เวียดนาม
3–2
อินโดนีเซีย
10
1998  เวียดนาม
สิงคโปร์
1–0
เวียดนาม

อินโดนีเซีย
3–3
(ต่อเวลา)
(ดวลลูกโทษ 5–4)

ไทย
8
2000  ไทย
ไทย
4–1
อินโดนีเซีย

มาเลเซีย
3–0
เวียดนาม
9
2002  อินโดนีเซีย
 สิงคโปร์

ไทย
2–2 เวลาปกติ
(4–2) ดวลลูกโทษ

อินโดนีเซีย

เวียดนาม
2–1
มาเลเซีย
9
ปีเจ้าภาพรอบแบ่งกลุ่มนัดชิงชนะเลิศรอบรองชนะเลิศอันดับ 3 หรือ แพ้รอบรองชนะเลิศจำนวนทีม
ชนะเลิศผลการแข่งขันรองชนะเลิศอันดับที่ 3ผลการแข่งขันอันดับที่ 4
2004  มาเลเซีย
 เวียดนาม

สิงคโปร์
3–1
2–1

อินโดนีเซีย

มาเลเซีย
2–1
พม่า
10
ผลการแข่งขันรวม 5–2
2007  สิงคโปร์
 ไทย

สิงคโปร์
2–1
1–1

ไทย
 มาเลเซีย และ  เวียดนาม8
ผลการแข่งขันรวม 3–2
2008  อินโดนีเซีย
 ไทย

เวียดนาม
2–1
1–1

ไทย
 อินโดนีเซีย และ  สิงคโปร์8
ผลการแข่งขันรวม 3–2
2010  อินโดนีเซีย
 เวียดนาม

มาเลเซีย
3–0
1–2

อินโดนีเซีย
 ฟิลิปปินส์ และ  เวียดนาม8
ผลการแข่งขันรวม 4–2
2012  มาเลเซีย
 ไทย

สิงคโปร์
3–1
0–1

ไทย
 มาเลเซีย และ  ฟิลิปปินส์8
ผลการแข่งขันรวม 3–2
2014  สิงคโปร์
 เวียดนาม

ไทย
2–0
2–3

มาเลเซีย
 ฟิลิปปินส์ และ  เวียดนาม8
ผลการแข่งขันรวม 4–3
2016  พม่า
 ฟิลิปปินส์

ไทย
1–2
2–0

อินโดนีเซีย
 พม่า และ  เวียดนาม8
ผลการแข่งขันรวม 3–2
ปีนัดชิงชนะเลิศแพ้รอบรองชนะเลิศจำนวนทีม
ชนะเลิศผลการแข่งขันรองชนะเลิศ
2018
เวียดนาม
2–2
1–0

มาเลเซีย
 ฟิลิปปินส์ และ  ไทย10
ผลการแข่งขันรวม 3–2
ปีเจ้าภาพนัดชิงชนะเลิศแพ้รอบรองชนะเลิศจำนวนทีม
ชนะเลิศผลการแข่งขันรองชนะเลิศ
2020[a]  สิงคโปร์[b]
ไทย[c]
4–0
2–2

อินโดนีเซีย[c]
 สิงคโปร์ และ  เวียดนาม10
ผลการแข่งขันรวม 6–2
ปีนัดชิงชนะเลิศแพ้รอบรองชนะเลิศจำนวนทีม
ชนะเลิศผลการแข่งขันรองชนะเลิศ
2022
ไทย
2–2
1–0

เวียดนาม
 อินโดนีเซีย และ  มาเลเซีย10
ผลการแข่งขันรวม 3–2
202410


หมายเหตุ

  • ตั้งแต่ปี 2004 การแข่งขันรอบแพ้คัดออกใช้ระบบ 2 เลกโดยผลัดกันเป็นเหย้า - เยือน
  • ตั้งแต่ปี 2007 ได้ยกเลิกการแข่งขันนัดชิงที่ 3 โดยจะเรียงผู้ผ่านเข้ารอบตามลำดับตัวอักษร จนในปี 2010 ได้เริ่มใช้กฎประตูทีมเยือนแทน
  • การแข่งขันปี 2018 ได้ปรับรูปแบบการแข่งขันใหม่คือ ทีมอันดับที่ 1 - 9 ที่จะไปรออยู่ในรอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติส่วน 2 ทีมในอันดับสุดท้ายตามการจัดอันดับของการแข่งขันเมื่อปี 2016 มาแข่งกันก่อนในรอบคัดเลือกแบบ เหย้า – เยือนเพื่อหาตัวแทนให้ครบ 10 ทีมจากนั้นก็แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม แต่ละทีมจะได้เล่นเป็นทีมเหย้า 2 นัดและเยือนอีก 2 นัด[8]

สรุปทำเนียบแชมป์

ทีมชนะเลิศรองชนะเลิศอันดับที่สาม / รอบรองชนะเลิศอันดับที่สี่รวม 4
 ไทย7 (1996, 2000, 2002, 2014, 2016, 2020, 2022)3 (2007, 2008, 2012)1 (2018)1 (1998)12
 สิงคโปร์4 (1998, 2004, 2007, 2012)-2 (2008, 2020)-6
 เวียดนาม2 (2008, 2018)2 (1998, 2022)7 (1996, 2002, 2007, 2010, 2014, 2016, 2020)1 (2000)12
 มาเลเซีย1 (2010)3 (1996, 2014, 2018)5 (2000, 2004, 2007, 2012, 2022)1 (2002)10
 อินโดนีเซีย-6 (2000, 2002, 2004, 2010, 2016, 2020)3 (1998, 2008, 2022)1 (1996)10
 ฟิลิปปินส์--4 (2010, 2012, 2014, 2018)-4
 พม่า--1 (2016)1 (2004)2
รวม141421552
* รอบรองชนะเลิศ (ยกเลิกการแข่งขันนัดชิงที่ 3 ตั้งแต่ปี 2007)

ความสำเร็จในการแข่งขัน

ทีม
1996
(10)

1998
(8)

2000
(9)


2002
(9)


2004
(10)


2007
(8)


2008
(8)


2010
(8)


2012
(8)


2014
(8)


2016
(8)

2018
(10)

2020
(10)

2022
(10)
รวม
 ออสเตรเลีย[note 1]ไม่ใช่สมาชิก เอเอฟเอฟ×××××0
 บรูไนGS×××××GS2
 กัมพูชาGSGSGSGSGSGSGSGSGS9
 อินโดนีเซีย4th3rd2nd2nd2ndGSSF2ndGSGS2ndGS2ndSF14
 ลาวGSGSGSGSGSGSGSGSGSGSGSGSGS13
 มาเลเซีย2ndGS3rd4th3rdSFGS1stSF2ndGS2ndGSSF14
 พม่าGSGSGSGS4thGSGSGSGSGSSFGSGSGS14
 ฟิลิปปินส์GSGSGSGSGSGSSFSFSFGSSFGSGS13
 สิงคโปร์GS1stGSGS1st1stSFGS1stGSGSGSSFGS14
 ไทย1st4th1st1stGS2nd2ndGS2nd1st1stSF1st1st14
 ติมอร์-เลสเตPart of Indonesia×GSGSGS3
 เวียดนาม3rd2nd4th3rdGSSF1stSFGSSFSF1stSF2nd14
ตำแหน่ง

หมายเหตุ

รางวัล

ปีผู้เล่นทรงคุณค่าผู้ทำประตูสูงสุดประตูผู้เล่นเยาวชนประจำรายการรางวัลแฟร์เพลย์
1996
Zainal Abidin Hassan เนติพงษ์ ศรีทองอินทร์7N/A
(มอบครั้งแรกปี 2020)
 บรูไน
1998
Nguyễn Hồng Sơn มโย ไลง์ วีน4ไม่ได้รับรางวัล
2000
เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง Gendut Doni Christiawan5  มาเลเซีย
วรวุฒิ ศรีมะฆะ
2002
เทิดศักดิ์ ใจมั่น Bambang Pamungkas8ไม่ได้รับรางวัล
2004
Lionel Lewis Ilham Jaya Kesuma7
2007
โนห์ อลัม ชาห์ โนห์ อลัม ชาห์10
2008
Dương Hồng Sơn Budi Sudarsono4  ไทย
Agu Casmir
ธีรศิลป์ แดงดา
2010
Firman Utina Safee Sali5  ฟิลิปปินส์
2012
Shahril Ishak ธีรศิลป์ แดงดา5  มาเลเซีย
2014
ชนาธิป สรงกระสินธ์ Safiq Rahim6  เวียดนาม
2016
ชนาธิป สรงกระสินธ์ ธีรศิลป์ แดงดา6  ไทย
2018
เหงียน กวาง หาย อดิศักดิ์ ไกรษร8  มาเลเซีย
2020
ชนาธิป สรงกระสินธ์ ธีรศิลป์ แดงดา4 ปราตามา อาร์ฮัน อินโดนีเซีย
ชนาธิป สรงกระสินธ์
Bienvenido Marañón
Safawi Rasid
2022 ธีราทร บุญมาทัน ธีรศิลป์ แดงดา
เหงียน เตี๋ยน ลิญ
6 มาร์เซลิโน เฟอร์ดินัน  มาเลเซีย

ผู้ทำประตูสูงสุดโดยรวม

ณ วันที่ 10 มกราคม 2023
อันดับผู้เล่นประตู
1 ธีรศิลป์ แดงดา25
2 โนห์ อลัม ชาห์17
3 วรวุฒิ ศรีมะฆะ15
เล กง วิญ
5 Lê Huỳnh Đức14
6 Kurniawan Dwi Yulianto13
อดิศักดิ์ ไกรษร
8 Bambang Pamungkas12
เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง
10 Agu Casmir11
  • ตัวหนา หมายถึงผู้เล่นที่ยังเล่นให้แก่ฟุตบอลทีมชาติอยู่

ผู้ฝึกสอนที่ชนะเลิศ

ปีทีมผู้ฝึกสอน
1996  ไทย ธวัชชัย สัจจกุล
1998  สิงคโปร์ Barry Whitbread
2000  ไทย ปีเตอร์ วิธ
2002  ไทย
2004  สิงคโปร์ Radojko Avramović
2007  สิงคโปร์
2008  เวียดนาม Henrique Calisto
2010  มาเลเซีย K. Rajagopal
2012  สิงคโปร์ Radojko Avramović
2014  ไทย เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง
2016  ไทย
2018  เวียดนาม พัก ฮัง-ซอ
2020 ไทย อาเลชังดรี ปอลกิง
2022  ไทย

ตารางอันดับตลอดกาล

ณ วันที่ 2021
อันดับทีมเข้าร่วมเล่นชนะเสมอแพ้ประตูได้ประตูเสียผลต่างคะแนนผลงานที่ดีที่สุด
1  ไทย147749171116789+78164ชนะเลิศ (1996, 2000, 2002, 2014, 2016, 2020, 2022)
2  เวียดนาม147137191514574+71130ชนะเลิศ (2008, 2018)
3  อินโดนีเซีย1469351420175122+53119รองชนะเลิศ (2000, 2002, 2004, 2010, 2016, 2020)
4  สิงคโปร์146231151611262+50108ชนะเลิศ (1998, 2004, 2007, 2012)
5  มาเลเซีย146930152412081+39105ชนะเลิศ (2010)
6  พม่า14461572458101-4352รอบรองชนะเลิศ (2004, 2016)
7  ฟิลิปปินส์1344104304750–334รอบรองชนะเลิศ (2010, 2012, 2014, 2018)
8  กัมพูชา930402629102–7312รอบแบ่งกลุ่ม (8 ครั้ง)
9  ลาว1341253430155–12511รอบแบ่งกลุ่ม (12 ครั้ง)
10  บรูไน24103115–143รอบแบ่งกลุ่ม (1996)
11  ติมอร์-เลสเต4120012650–440รอบแบ่งกลุ่ม (2004, 2018, 2020)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง