ภาษาลอมบาร์ด

ลอมบาร์ด (ชื่อพื้นเมือง: ลอมบาร์ด: lombard / lumbart, ขึ้นอยู่กับอักขรวิธี; แม่แบบ:IPA-lmo หรือ แม่แบบ:IPA-lmo) เป็นภาษา[6]ที่ถือเป็นภาษาต่อเนื่อง[7][8] ซึ่งมีผู้พูดหนึ่งล้านคนในอิตาลีตอนเหนือและสวิตเซอร์แลนด์ตอนใต้ โดยเฉพาะพื้นที่ส่วนใหญ่ของแคว้นลอมบาร์เดีย และบางพื้นที่ในภูมิภาคใกล้เคียง เช่นฝั่งตะวันออกของแคว้นปีเยมอนเต และฝั่งตะวันตกของแคว้นเตรนติโนของประเทศอิตาลี และรัฐตีชีโนกับรัฐเกราบึนเดินของประเทศสวิตเซอร์แลนด์[7] ภาษาลอมบาร์ดเป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์ ซึ่งอยู่ในกลุ่มกัลโล-โรมานซ์[9]

ภาษาลอมบาร์ด
lombard/lumbaart (ตะวันตก)
lombard (ตะวันออก)
ประเทศที่มีการพูดประเทศอิตาลี, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ภูมิภาคอิตาลี[1][2][3]

สวิตเซอร์แลนด์[1][2][3]

บราซิล[4]

จำนวนผู้พูด3.8 ล้านคน  (2002)[5]
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
ภาษาถิ่น
ลอมบาร์ดตะวันตก
ลอมบาร์ดตะวันออก
รหัสภาษา
ISO 639-3lmo
Linguasphere51-AAA-oc & 51-AAA-od
การกระจายทางภูมิศาสตร์โดยละเอียดของภาษาถิ่นลอมบาร์ด
รายละเอียด: L01 – ลอมบาร์ดตะวันตก; L02 – ลอมบาร์ดตะวันออก; L03 – ลอมบาร์ดใต้; L04 – ลอมบาร์ดแถบแอลป์
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

นอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษาลอมบาร์ดในรัฐซังตากาตารีนาของประเทศบราซิลด้วย[4][8]

สัทวิทยา

ตารางข้างล่างนี้แสดงเสียงที่มีในภาษาลอมบาร์ดทุกสำเนียง

พยัญชนะ

เสียงพยัญชนะ[10]
ริมฝีปากริมฝีปาก-ฟันฟันปุ่มเหงือกหลัง-
ปุ่มเหงือก
เพดานแข็งเพดานอ่อน
นาสิกmnɲ(ŋ)
หยุดไร้เสียงptk
ออกเสียงbdɡ
กักเสียดแทรกไร้เสียงt͡st͡ʃ
ออกเสียงd͡zd͡ʒ
เสียดแทรกไร้เสียงfsʃ
ออกเสียงzʒ
รัวr
เปิดกลางʋjw
ข้างl(ʎ)

ในภาษาลอมบาร์ดตะวันออก เสียง /dz/, /z/ กับ /ʒ/ รวมเป็นเสียง [z] และเสียง /ts/, /s/ กับ /ʃ/รวมเป็นเสียง [s] เสียงสุดท้ายมัก debuccalized ไปเป็น [h]

สระ

เสียงสระ[10]
หน้ากลางหลัง
ไม่ห่อห่อ
สูงi iːy yːu uː
กลางe eːø øː (œ)[11]o
ɛɔ
ต่ำa aː

ในแบบตะวันตก มีการเปรียบเทียบความยาวของสระ (เช่น andà "เพื่อไป" vs andàa "ไปแล้ว" ในภาษามิลาน)[10] แต่แบบตะวันออกมักใช้เฉพาะหน่วยเสียงย่อยสั้น

เมื่อมีรูปสระอักขรวิธีซ้ำกันสองตัวที่แยกกันด้วยยัติภาค ซึ่งหลีกเลี่ยงความสับสนกับสระยาว เช่น a-a ใน ca-àl "ม้า"[10]

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Agnoletto, Attilio (1992). San Giorgio su Legnano - storia, società, ambiente. SBN IT\ICCU\CFI\0249761.
  • D'Ilario, Giorgio (2003). Dizionario legnanese. Artigianservice. SBN IT\ICCU\MIL\0625963.
  • Bernard Comrie, Stephen Matthews, Maria Polinsky (eds.), The Atlas of languages: the origin and development of languages throughout the world. New York 2003, Facts On File. p. 40.
  • Brevini, Franco - Lo stile lombardo: la tradizione letteraria da Bonvesin da la Riva a Franco Loi / Franco Brevini - Pantarei, Lugan - 1984 (Lombard style: literary tradition from Bonvesin da la Riva to Franco Loi )
  • Glauco Sanga: La lingua Lombarda, in Koiné in Italia, dalle origini al 500 (Koinés in Italy, from the origin to 1500), Lubrina publisher, Bèrghem.
  • Claudio Beretta: Letteratura dialettale milanese. Itinerario antologico-critico dalle origini ai nostri giorni - Hoepli, 2003.
  • G. Hull: "The linguistic Unity of Northern Italy and Rhaetia, PhD thesis, University of Sydney, 1982; published as The Linguistic Unity of Northern Italy and Rhaetia: Historical Grammar of the Padanian Language, 2 vols. Sydney: Beta Crucis Editions, 2017.
  • Jørgen G. Bosoni: «Una proposta di grafia unificata per le varietà linguistiche lombarde: regole per la trascrizione», in Bollettino della Società Storica dell’Alta Valtellina 6/2003, p. 195-298 (Società Storica Alta Valtellina: Bormio, 2003). A comprehensive description of a unified set of writing rules for all the Lombard varieties of Switzerland and Italy, with IPA transcriptions and examples.
  • Tamburelli, M. (2014). Uncovering the ‘hidden’ multilingualism of Europe: an Italian case study. Journal of Multilingual and Multicultural Development, 35(3), 252-270.
  • NED Editori: I quatter Vangeli de Mattee, March, Luca E Gioann - 2002.
  • Stephen A. Wurm: Atlas of the World’s Languages in Danger of Disappearing. Paris 2001, UNESCO Publishing, p. 29.
  • Studi di lingua e letteratura lombarda offerti a Maurizio Vitale, (Studies in Lombard language and literature) Pisa: Giardini, 1983
  • A cura di Pierluigi Beltrami, Bruno Ferrari, Luciano Tibiletti, Giorgio D'Ilario: Canzoniere Lombardo - Varesina Grafica Editrice, 1970.
  • Sanga, Glauco. 1984. Dialettologia Lombarda. University of Pavia. 346pp.

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง