ประชากรศาสตร์ไทย

(เปลี่ยนทางจาก ลักษณะประชากรไทย)

บทความว่าด้วย ลักษณะประชากรไทย กล่าวถึง ชนชาติ เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องด้วยประชาชนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย

พีระมิดประชากรประเทศไทยใน พ.ศ. 2563

สถิติจำนวนประชากรไทยนั้นแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแหล่งอ้างอิงและวิธีการเก็บข้อมูล แต่โดยเฉลี่ยแล้วอยู่ที่ราว 66-67 ล้านคน คิดเป็นอันดับที่ 4 ในกลุ่มประเทศอาเซียนรองจาก อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม ข้อมูลทั้งหลาย อาทิ

* หมายเหตุ: นับคนไทยที่ที่อยู่ในประเทศไทย คนไทยที่ออกนอกประเทศชั่วคราว และคนต่างด้าวที่อยู่ในประเทศไทยเกิน 3 เดือน

และจากข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ [1] ซึ่งจะมีการจัดทำสำมะโนประชากรและเคหะ ทุก 10 ปี ตามข้อเสนอแนะขององค์การสหประชาชาติ ประเทศไทยมีประชากร 65,479,453 คน แบ่งเป็น ประชากรหญิง 33.4 ล้านคน (ร้อยละ 51.0) และชาย 32.1 ล้านคน (ร้อยละ 49.0) หรือคิดเป็นอัตราส่วนเพศ ชาย 96.2 คนต่อหญิง 100 คน เป็นผู้ที่มีสัญชาติไทย 62.3 ล้านคน (ร้อยละ 95.1) และผู้ที่ไม่มีสัญชาติไทยอีก 3.2 ล้านคน (ร้อยละ 4.9)

ทั้งนี้ทั้งนั้น จากข้อมูลโดยสหประชาชาติ ประเทศไทยเป็นประเทศลำดับที่สามในทวีปเอเชียที่โครงสร้างประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว (รองจากประเทศญี่ปุ่นและเกาหลีใต้) โดยคาดหมายว่าสัดส่วนประชากรวัยทำงาน (อายุ 15 - 64 ปี) ของประเทศไทยจะถึงจุดสูงสุดในปี ค.ศ. 2017 คืออยู่ที่ร้อยละ 72 ของประชากรทั้งหมด และจะลดต่ำลงต่ำกว่าร้อยละ 60 ของประชากรก่อนปี ค.ศ. 2050 ในขณะเดียวจำนวนประชากรผู้สูงอายุ (มากกว่า 65 ปีขึ้นไป) จากอยู่ที่อัตราร้อยละ 8.9 ของประชากรทั้งหมดในปี ค.ศ. 2010 จะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 19.5 ของประชากรทั้งหมดในปี ค.ศ. 2030 ซึ่งจะส่งผลต่อจำนวนประชากรไทยในอนาคตที่คาดว่าจะลดลงและส่งผลกระทบทางลบต่อความต้องการแรงงานในที่สุด [6][7]

สำมะโนประชากร

ข้อมูลจำนวนประชากร ตามสำมะโนประชากร พ.ศ. 2453 – 2553 ตามข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ [1]
ครั้งปีที่สำรวจ
(พ.ศ./ค.ศ.)
จำนวน (คน)อัตราเพิ่ม
(ร้อยละ/ต่อ 10 ปี)
12453 (1910)8,131,247-
22462 (1919)9,207,355+ 13.2 (ต่อ 9 ปี)
32472 (1929)11,506,207+ 25.0
42480 (1937)14,464,105+ 25.7 (ต่อ 8 ปี)
52490 (1947)17,442,689+ 20.6
62503 (1960)26,257,916+ 50.5 (ต่อ 13 ปี)
72513 (1970)34,397,371+ 31.0
82523 (1980)44,824,540+ 30.3
92533 (1990)54,548,530+ 21.7
102543 (2000)60,916,441+ 11.7
112553 (2010)65,981,659+ 8.3

สถิติจำนวนประชากร และสถิติชีพ

สถิติจำนวนประชากร ตามข้อมูลของ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย[8][9][10]
สถิติสาธารณสุข (จำนวนเกิดมีชีพ และจำนวนตาย) โดย กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข[11][12] และ
สถิติจำนวนและอัตราเกิดมีชีพ และตาย ทั่วราชอาณาจักร โดย สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข[13][14] [15]
ปี (พ.ศ./ค.ศ.)จำนวนประชากรจำนวนเกิดมีชีพจำนวนตาย จำนวนเพิ่มตามธรรมชาติ อัตราเกิดมีชีพ (ต่อ 1,000 คน) อัตราตาย (ต่อ 1,000 คน) อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ (ต่อ 1,000 คน) อัตราเจริญพันธุ์รวม [16] แหล่งข้อมูลอื่น
2526/19831 055 802252 592803 21021.35.116.2
2527/1984956 680225 282731 39819.04.514.5
2528/1985973 624225 088748 53618.84.414.4
2529/1986945 827218 025727 80218.04.113.9
2530/1987884 043232 968651 07516.54.312.2
2531/1988873 842231 227642 61516.04.211.8
2532/1989905 837246 570659 26716.34.411.9
2533/1990956 237252 512703 72517.04.512.5
2534/1991960 556264 350696 20617.04.712.3
2535/199257,788,965964 557275 313689 24416.84.812.0
2536/199358,336,072957 832285 731672 10116.54.911.6
2537/199459,095,419960 248305 526654 72216.35.211.1
2538/199559,460,382963 678324 842638 83616.25.510.7
2539/199660,116,182994 118342 645651 47315.85.710.1
2540/199760,816,227897 604303 918593 68614.85.09.8
2541/199861,466,178897 201310 534586 66714.75.19.6
2542/199961,661,701754 685362 607392 07812.35.96.4
2543/200061,878,746773 009365 741407 26812.55.96.61.53
2544/200162,308,887790 425369 493420 93212.76.06.71.54
2545/200262,799,872782 911380 364402 54712.56.16.41.53
2546/200363,079,765742 183384 131358 05211.86.15.71.47
2547/200461,973,621**813 069393 592419 47713.06.36.71.55
2548/200562,418,054809 485395 374414 11113.06.46.61.55
2549/200662,828,706793 623391 126402 49712.76.26.51.53
2550/200763,038,247797 588393 255404 33312.76.36.41.54
2551/200863,389,730784 256397 326386 93012.46.36.11.51
2552/200963,525,062765 047393 916371 13112.16.25.91.47
2553/201063,878,267761 689411 331350 35812.06.55.51.49
2554/201164,076,033795 031414 670380 36112.46.55.91.55
2555/201264,456,695801 737415 141386 59612.46.55.91.56
2556/201364,785,909748 081426 065322 01611.66.65.01.46
2557/201465,124,716711 805435 624276 18111.06.74.31.41
2558/201565,729,098679 502445 964233 53810.46.93.51.45[17]:12[18]
2559/201665,931,550666,207469,085197,12210.27.23.01.39
2560/201766,188,503656,571458,010198,56110.07.03.01.38[19]
2561/201866,413,979666,357473,541192,56810.07.12.91.36[19]
2562/201966,558,935618,193506,211111,9829.37.61.71.25[20]
2563/202066,186,727587,368501,43885,9308.97.61.31.18
2564/202166,171,439544,570563,650-19,0808.28.5-0.31.16
2565/202266,090,475 502,107595,965-93,8587.68.9-0.11.10[21]
2566/202366,052,615517,934565,992-48,054
  • หมายเหตุ
** กรมการปกครองมีการปรับปรุงแก้ไข และจำหน่ายรายการบุคคลในทะเบียนบ้านกลาง ทั่วราชอาณาจักร และโครงการตรวจสอบ แก้ไขรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน กรณีชื่อเกิน และซ้ำซ้อน
- จำนวนเกิดมีชีพ หมายถึง จำนวนทารกที่คลอดออกมาโดยวิธีใดก็ตามและไม่คำนึงถึงระยะเวลาของการตั้งครรภ์ โดยที่ทารกที่คลอดออกมานั้นจะต้องมีการหายใจหรือแสดงอาการที่บ่งว่ามีชีวิต เช่น การเต้นของหัวใจ การเต้นของเส้นโลหิต การเต้นของสายสะดือหรือมีการเคลื่อนไหวของร่างกาย
- ตัวเอียง หมายถึงข้อมูลเบื้องต้น โดยการรวบรวมข้อมูลจากการเกิดจากสูติบัตร และการตายจากมรณบัตร (โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย)


ข้อมูลล่าสุด

จำนวนการเกิด[22]

  • มกราคม - กรกฎาคม 2563 = 337,286
  • มกราคม - กรกฎาคม 2564 = 300,336
  • มกราคม - กรกฎาคม 2565 = 270,454

จำนวนการตาย

  • มกราคม - กรกฎาคม 2563 = 290,214
  • มกราคม - กรกฎาคม 2564 = 311,949
  • มกราคม - กรกฎาคม 2565 = 341,702

จำนวนเพิ่มตามธรรมชาติ

  • มกราคม - กันยายน 2563 = +72,213
  • มกราคม - กันยายน 2564 = -15,507

ประชากรแต่ละภาค

ประชากรแต่ละภาค ตามเกณฑ์แบ่งของราชบัณฑิตยสถาน ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2566 โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย[23]

อันดับภาคจำนวนประชากร (คน)
1ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ21,716,975
2ภาคกลาง20,099,945
3ภาคใต้9,512,975
4ภาคเหนือ6,290,583
5ภาคตะวันออก4,945,751
6ภาคตะวันตก3,486,386
รวม66,052,615

ชนชาติ

สถานภาพสมรสและภาวะเจริญพันธุ์

ประชากรอายุตั้งแต่ 13 ปีขึ้นไป จานวน 55.2 ล้านคน มีผู้สมรสทั้งสิ้น 31.0 ล้านคน (ร้อยละ 56.2) โดยมีสัดส่วนชายและหญิงที่สมรสแล้วใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 56.6 และ 55.9 ชายมีสัดส่วนที่เป็นโสดสูงกว่าหญิงคือ ร้อยละ 33.6 และ 26.9 และพบว่าหญิงมีสัดส่วนที่เป็นหม้าย หย่า แยกกันอยู่ สูงกว่าชายถึง 2.2 เท่า

หากพิจารณาภาวะเจริญพันธุ์ของหญิงเคยสมรสอายุ 15 - 49 ปี พบว่า หญิง 1 คน มีบุตรเกิดรอดเฉลี่ย 1.51 คน ลดลงจากปี 2543 (1.88 คน) และเมื่อพิจารณาในระดับภาคพบว่า ภาคใต้มีจำนวนบุตรฯ เฉลี่ยสูงสุดและใกล้เคียงกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (1.77 และ 1.75 คน) ส่วนกรุงเทพมหานครมีจำนวนบุตรฯ เฉลี่ยต่ำสุด (1.20 คน) [1]

สถิติสำคัญ โดยวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อ้างอิง [2]
สถิติจำนวนประชากรตามกลุ่มอายุ

จำนวนการจดทะเบียนสมรสและหย่า

ปี (พ.ศ.)สมรส (คน)หย่า (คน)อัตราการหย่า (ร้อยละ)
2550307,910100,42032.6
2551318,496109,08434.2
2552300,878109,27736.3
2553305,944100,40237.9
2554308,048109,31235.5

สถิติสำคัญโดยสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐอเมริกา

ประมาณการโครงสร้างประชากร

0-14 ปี: 17.2% (ชาย 6,000,434/หญิง 5,714,464)
15-64 ปี: 72.6% (ชาย 24,437,208/หญิง 25,086,710)
65 ปีขั้นไป: 10.2% (ชาย 3,047,938/หญิง 3,914,070) (ข้อมูลประมาณการปี 2559)
0-14 ปี: 19.9% (ชาย 6,779,723/หญิง 6,466,625)
15-64 ปี: 70.9% (ชาย 23,410,091/หญิง 23,913,499)
65 ปีขั้นไป: 9.2% (ชาย 2,778,012/หญิง 3,372,203) (ข้อมูลประมาณการปี 2554)
0-14 ปี: 21.2% (ชาย 7,104,776/หญิง 6,781,453)
15-64 ปี: 70.3% (ชาย 22,763,274/หญิง 23,304,793)
65 ปีขึ้นไป: 8.5% (ชาย 2,516,721/หญิง 3,022,281) (ข้อมูลประมาณการปี 2551)

อายุมัธยฐาน

อายุมัธยฐาน (Median Age) คือ อายุกึ่งกลางที่แบ่งประชากรออกเป็นสองส่วนในจำนวนเท่ากัน โดยส่วนหนึ่งมีอายุน้อยกว่าอายุมัธยฐานและอีกส่วนหนึ่งมีอายุมากกว่าอายุมัธยฐาน [24]
  • 36.2 ปี (ข้อมูลประมาณการปี 2557)

อัตราเพิ่ม

  • 0.35% (ข้อมูลประมาณการปี 2557)
  • 0.543% (ข้อมูลประมาณการปี 2554)
  • 0.615% (ข้อมูลประมาณการปี 2552)

อัตราเกิด

  • เกิด 11.26 คนต่อประชากร 1,000 คน (ข้อมูลประมาณการปี 2557)
  • เกิด 12.81 คนต่อประชากร 1,000 คน (ข้อมูลประมาณการปี 2554)

อัตราตาย

  • ตาย 7.72 คนต่อประชากร 1,000 คน (ข้อมูลประมาณการปี 2557)
  • ตาย 7.38 คนต่อประชากร 1,000 คน (ข้อมูลประมาณการปี 2554)

อัตราการตายของทารก

  • ตาย 9.86 คนต่อประชากรเด็กเกิดแล้วอยู่รอด 1,000 คน (ข้อมูลประมาณการปี 2557)
  • ตาย 15.9 คนต่อประชากรเด็กเกิดแล้วอยู่รอด 1,000 คน (ข้อมูลประมาณการปี 2554)

อายุคาดหมายเมื่อแรกเกิด

ต่อประชากรทั้งหมด: 74.60 ปี
ชาย: 71.1 ปี
หญิง: 78.01 ปี (ข้อมูลปี 2556 สารประชากรมหิดล )

ภาวะการเจริญพันธุ์

  • 1.5 คน/หญิง (ข้อมูลประมาณการปี 2557)
  • 1.66 คน/หญิง (ข้อมูลประมาณการปี 2554)
  • 1.64 คน/หญิง (ข้อมูลประมาณการปี 2551)

อัตราการรู้หนังสือ

นิยาม: อายุ 15 ปีขึ้นไปที่อ่านออกเขียนได้
ต่อประชากรทั้งหมด: 92.6% (ข้อมูลประมาณการปี 2555)
ชาย: 94.9%
หญิง: 90.5% (ข้อมูลประมาณการปี 2545) เด็กอายุ1-12 60%อ่านออกเขียนได้

หมู่เลือด

  • O 31%
  • A 30%
  • B 28%
  • AB 11%

สถิติสำคัญโดยองค์การสหประชาชาติ

  • อัตราการตายของทารก 11.20/1000 คน (2011)
  • อัตราการตายของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี 12/1000 คน (2011)
ข้อมูลประมาณการจำนวนคนเกิดและตาย โดยองค์การสหประชาชาติ [25]
ช่วงปี (ค.ศ.)จำนวนคนเกิด
(คน/ปี)
จำนวนคนตาย
(คน/ปี)
เปลี่ยนแปลง
(คน/ปี)
อัตราเกิด
(ต่อ 1,000 คน)
อัตราตาย
(ต่อ 1,000 คน)
อัตราเพิ่ม
(ต่อ 1,000 คน)
อัตราการเจริญพันธุ์ (คน)อัตราการตายของทารก
(ต่อ 1,000 คน)
1950-1955940 000344 000596 00042.515.626.96.14130.3
1955-19601 093 000348 000745 00043.013.729.36.14108.7
1960-19651 249 000353 000896 00042.312.030.36.1390.5
1965-19701 385 000362 0001 025 00040.410.529.95.9975.5
1970-19751 371 000355 0001 097 00034.68.925.75.0563.2
1975-19801 297 000338 0001 017 00028.97.521.43.9250.4
1980-19851 201 000300 000969 00024.16.018.12.9538.9
1985-19901 113 000266 000949 00020.44.915.52.3029.1
1990-19951 050 000313 000516 00018.05.413.61.9922.6
1995-2000955 000373 000701 00015.66.19.51.7718.6
2000-2005914 000426 000709 00014.16.67.51.6815.1
2005-2010873 000486 000485 00012.97.25.71.6312.4

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง