สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี

สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี (อาหรับ: ستاد مدينة زايد الرياضية) เป็นสนามกีฬาขนาดใหญ่ในย่านซายิดสปอตส์ซิตี อาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์[1] เป็นสนามที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ มีความจุกว่า 43,000 ที่นั่ง สนามแห่งนี้ยังปรากฏอยู่บนธนบัตร 200 ดิรฮัมอีกด้วย

สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี
สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี พ.ศ. 2559
แผนที่
ชื่อเต็มสนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี
ที่ตั้งอาบูดาบี
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
พิกัด24°24′57.92″N 54°27′12.93″E / 24.4160889°N 54.4535917°E / 24.4160889; 54.4535917
เจ้าของบริษัทการพัฒนามูบาดาลา
ผู้ดำเนินการบริษัทความบันเทิงอาบูดาบี
ที่นั่งพิเศษ6 ที่นั่ง
ความจุ43,620 ที่นั่ง
60,000 ที่นั่ง (ค.ศ. 1980–2009)
63,578 ที่นั่ง (เอเชียนคัพ 2019)
พื้นผิวหญ้า
ป้ายแสดงคะแนนมี
การก่อสร้าง
ลงเสาเข็มค.ศ. 1974
เปิดใช้สนามค.ศ. 1979
ปรับปรุงค.ศ. 2009
งบประมาณในการก่อสร้าง550 ล้านดิรฮัม
สถาปนิกHenri Colboc, Pierre Dalidet, George Philippe
ผู้รับเหมาทั่วไปConsolidated Contractors Company
การใช้งาน
ฟุตบอลทีมชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (ค.ศ. 1980–ปัจจุบัน)
เอเชียนคัพ 1996
ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลก 2003
กัลฟ์คัพออฟเนชันส์ 2007
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2009
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2010
เอเชียนคัพ 2019
ยูเออีเพรสซิเดนท์คัพ รอบชิงชนะเลิศ
เว็บไซต์
www.zsc.ae

สนามเปิดใช้งานในปี ค.ศ. 1979[2] และได้ปรับปรุง เพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวก เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อรองรับการแข่งขันระดับนานาชาติ

สนามกีฬาแห่งนี้มักใช้จัดงานแข่งขันสำคัญต่าง ๆ เช่น เอเชียนคัพ 1996 รอบชิงชนะเลิศ ระหว่างสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กับซาอุดีอาระเบีย (ซาอุดีอาระเบียชนะด้วยการยิงลูกโทษ), กัลฟ์คัพออฟเนชันส์ 2007 รอบชิงชนะเลิศ ระหว่างสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กับโอมาน, ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2009 และ 2010 รอบรองชนะเลิศและชิงชนะเลิศ และจะใช้จัดงานฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2017 กับ 2018[3] และเอเชียนคัพ 2019 ในอนาคต

เอเชียนคัพ 2019

วันที่เวลาทีมที่หนึ่งผลการแข่งขันทีมที่สองรอบผู้เข้าชม
5 มกราคม 201920:00  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1–1  บาห์เรนกลุ่มเอ33,878 คน
8 มกราคม 201917:30  อิรัก3–2  เวียดนามกลุ่มดี4,779 คน
10 มกราคม 201920:00  อินเดีย0–2  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์กลุ่มเอ43,206 คน
13 มกราคม 201917:30  โอมานนัดที่ 23  ญี่ปุ่นกลุ่มเอฟ
17 มกราคม 201920:00  ซาอุดีอาระเบียนัดที่ 35  กาตาร์กลุ่มอี
21 มกราคม 201921:00ชนะเลิศ กลุ่ม Aนัดที่ 42อันดับ 3 กลุ่ม C/D/Eรอบ 16 ทีม
25 มกราคม 201917:00ชนะเลิศ นัดที่ 43นัดที่ 47ชนะเลิศ นัดที่ 44รอบ 8 ทีม
1 กุมภาพันธ์ 201918:00ชนะเลิศ นัดที่ 49นัดที่ 51ชนะเลิศ นัดที่ 50รอบชิงชนะเลิศ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

ก่อนหน้าสนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตีถัดไป
ฮิโรชิมะบิ๊กอาร์ช
ฮิโรชิมะ
เอเอฟซี เอเชียนคัพ
สนามรอบชิงชนะเลิศ

(1996)
สนามกีฬาคามิลเลคามูนสปอตส์ซิตี
เบรุต
สนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์
โดฮา
กัลฟ์คัพออฟเนชันส์
สนามรอบชิงชนะเลิศ

(2007)
สุลต่านกาบูสสปอร์ตคอมเพล็กซ์
มัสกัต
สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ
โยโกฮามะ
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก
สนามรอบชิงชนะเลิศ

(2009, 2010)
สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ
โยโกฮามะ
สนามกีฬาออสเตรเลีย
ซิดนีย์
เอเอฟซี เอเชียนคัพ
สนามรอบชิงชนะเลิศ

(2019)
รอประกาศ
🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง