ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก (อังกฤษ: FIFA Club World Championship) หรือ ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ (อังกฤษ: FIFA Club World Cup)[1][2] เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมสโมสรของแต่ละสมาพันธ์ฟุตบอลจาก 6 ทวีปทั่วโลก เริ่มทำการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 2000 ที่ประเทศบราซิล ในนาม ฟีฟ่าคลับเวิลด์แชมเปียนชิป โดยฟีฟ่าได้จัดตั้งการแข่งขันรายการนี้ขึ้นเพื่อใช้แทนการแข่งขันรายการเดิมที่ชื่อ อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ หรือโตโยต้าคัพซึ่งถูกยกเลิกในปี ค.ศ. 2004 เพื่อมารวมรายการนี้ ในปี ค.ศ. 2005 ในนาม ฟีฟ่าคลับเวิร์ดคัพ ทีมที่ชนะเลิศจากทุกทวีปที่จะมาแข่งขันร่วมรายการนี้ โดยทีมชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกจากยุโรปและโกปาลิเบร์ตาโดเรสจากอเมริกาใต้ จะเข้าไปรอแข่งขันในรอบรองชนะเลิศทันที

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก
logo
ผู้จัดฟีฟ่า
ก่อตั้ง2000; 24 ปีที่แล้ว (2000)
ภูมิภาคนานาชาติ
จำนวนทีม32 ทีม
(จาก 6 สมาพันธ์)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี
(1 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดสเปน เรอัลมาดริด
(5 สมัย)
ผู้แพร่ภาพโทรทัศน์รายชื่อผู้แพร่ภาพโทรทัศน์
เว็บไซต์fifa.com/clubworldcup
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2025

ทั้งนี้ สโมสรที่ชนะเลิศมากที่สุด คือ เรอัลมาดริด จากสเปน 5 สมัย

สโมสรที่ชนะเลิศล่าสุดในปัจจุบันจะได้รับการติดตราแชมป์สโมสรโลกที่เสื้อสโมสรในรายการแข่งขันของฟีฟ่าไปตลอดจนกว่าจะมีการเปลี่ยนทีมสโมสรที่ชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกในอนาคต

ทีมสโมสรที่ชนะเลิศครั้งล่าสุด คือ เรอัลมาดริด จากสเปน ซึ่งชนะเลิศได้เป็นสมัยที่ 5 ในรายการนี้โดยเอาชนะอัลฮิลาล จากซาอุดีอาระเบียไป 5-3 ในเวลา 90 นาที ของนัดชิงชนะเลิศ 2022

ผลการแข่งขัน

รอบชิงชนะเลิศ

คำอธิบาย

  • aet: ผลการแข่งขัน/ชนะการแข่งขัน หลังต่อเวลาพิเศษ
  • p: การแข่งขันที่ชนะหลังจากการดวลจุดโทษ
ครั้งที่ปี ค.ศ.เจ้าภาพชิงชนะเลิศชิงอันดับ 3จำนวนทีมอ้างอิง
ชนะเลิศประตูรองชนะเลิศอันดับ 3ประตูอันดับ 4
1
 บราซิล คอรินเทียนส์ วัชกู ดา กามา เนกาซา เรอัลมาดริด
8
[3][4]
 สเปน
การแข่งขันถูกยกเลิกเนื่องจากปัญหาทางการเงิน
12
[5]
2002
ไม่มีการแข่งขัน
[6]
2003
2004
2
 ญี่ปุ่น เซาเปาลู
1–0
ลิเวอร์พูล ซาปริซา
3–2
อัล-อิตติฮัด
6
[7][8]
3
 ญี่ปุ่น อิงเตร์นาซีโยนัล
1–0
บาร์เซโลนา อัลอะฮ์ลี
2–1
กลุบอาเมริกา
6
[9][10]
4
 ญี่ปุ่น เอซี มิลาน
4–2
โบกายูนิออร์ส อูราวะ เรดไดมอนส์
2–2[n 1]
อีตวล ดู ซาฮีล
7
[11][12]
5
 ญี่ปุ่น แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1–0
แอลดียู กีโต กัมบะ โอซากะ
1–0
ปาชูกา
7
[13]
[14]
6
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บาร์เซโลนา เอสตูเดียนเตส โปฮัง สตีลเลอส์
1–1[n 1]
แอตแลนเต
7
[15][16]
[17]
7
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อินเตอร์มิลาน
3–0
มาเซมเบ อิงเตร์นาซีโยนัล
4–2
ซองนัมอิลฮวาชอนมา
7
[18][19]
8
 ญี่ปุ่น บาร์เซโลนา
4–0
ซังตุส อัล ซาดด์
0–0[n 1]
คะชิวะ เรย์โซล
7
[20][21]
[22]
9
 ญี่ปุ่น คอรินเทียนส์
1–0
เชลซี มอนเตร์เรย์
2–0
อัลอะฮ์ลี
7
[23][24]
10
 โมร็อกโก ไบเอิร์นมิวนิก ราจาคาซาบลังกา อัตเลชีกูมีเนย์รู
3–2
กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์
7
[25][26]
11
 โมร็อกโก เรอัลมาดริด ซานโลเรนโซ ออกแลนด์ซิตี
1–1[n 1]
กรุซอาซุล
7
[27][28]
[29]
12
 ญี่ปุ่น บาร์เซโลนา รีเบร์เปลต ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ
2–1
กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์
7
[30][31]
13
 ญี่ปุ่น เรอัลมาดริด คะชิมะ แอนท์เลอร์ส อัตเลติโก นาซิอองนาล
2–2[n 1]
กลุบอาเมริกา
7
[32][33]
[34][35]
14
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เรอัลมาดริด อาแลเกร็งซี ปาชูกา
4–1
อัลญะซีเราะฮ์
7
[36]
15
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เรอัลมาดริด อัลอัยน์ ริเบร์เปลต
4–0
คาชิมะ แอนต์เลอส์
7
[37]
16
 กาตาร์ ลิเวอร์พูล ฟลาเม็งกู มอนเตร์เรย์
2–2[n 1]
อัลฮิลาล
7
[38]
17
 กาตาร์ ไบเอิร์นมิวนิก ยูเอเอ็นแอล อัลอะฮ์ลี
0–0[n 1]
ปัลเมย์รัส
6
[39]
18
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เชลซี ปัลเมย์รัส อัลอะฮ์ลี
4–0
อัลฮิลาล
7
[40]
19
 โมร็อกโก เรอัลมาดริด อัลฮิลาล ฟลาเม็งกู
4–2
อัลอะฮ์ลี
7
[41]
20
 ซาอุดีอาระเบีย แมนเชสเตอร์ซิตี ฟลูมิเนนเซ อัลอะฮ์ลี
4–2
อูราวะ เรดไดมอนส์
7
21
 สหรัฐ
32
22
รอประกาศ
หมายเหตุ

ทำเนียบผู้ชนะเลิศ

ชนะเลิศ (จำแนกตามสโมสร)

สโมสรชนะเลิศรองชนะเลิศปีที่ชนะเลิศปีที่ได้รองชนะเลิศ
เรอัลมาดริด502014, 2016, 2017, 2018,2022
บาร์เซโลนา312009, 2011, 20152006
คอรินเทียนส์202000, 2012
ไบเอิร์นมิวนิก202013, 2020
ลิเวอร์พูล1120192005
เชลซี1120212012
เซาเปาลู102005
อิงเตร์นาซีโยนัล102006
เอซี มิลาน102007
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด102008
อินเตอร์มิลาน102010
แมนเชสเตอร์ซิตี102023

ชนะเลิศ (จำแนกตามชาติ)

ชาติชนะเลิศรองชนะเลิศปีที่ชนะเลิศปีรองชนะเลิศ
สเปน81(2009, 2011, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2022)(2006)
บราซิล46(2000, 2005, 2006, 2012)(2000, 2011, 2017, 2019, 2021, 2023)
อังกฤษ42(2008, 2019, 2021, 2023)(2005, 2012)
อิตาลี20(2007, 2010)
เยอรมนี20(2013, 2020)
อาร์เจนตินา04(2007, 2009, 2014, 2015)
เอกวาดอร์01(2008)
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก01(2010)
โมร็อกโก01(2013)
ญี่ปุ่น01(2016)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์01(2018)
เม็กซิโก01(2020)
ซาอุดีอาระเบีย01(2022)

ชนะเลิศ (จำแนกตามเมือง)

เมืองชนะเลิศทีมชนะเลิศ
มาดริด5เรอัลมาดริด (2014, 2016, 2017, 2018,2022)
บาร์เซโลนา3บาร์เซโลนา (2009, 2011, 2015)
เซาเปาลู3คอรินเทียนส์ (2000, 2012), เซาเปาลู (2005)
มิลาน2เอซี มิลาน (2007), อินเตอร์มิลาน (2010)
มิวนิก2ไบเอิร์นมิวนิก (2013, 2020)
แมนเชสเตอร์2แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (2008), แมนเชสเตอร์ซิตี (2023)
โปร์ตูอาเลกรี1อิงเตร์นาซีโยนัล (2006)
ลิเวอร์พูล1ลิเวอร์พูล (2019)
ลอนดอน1เชลซี (2021)

ชนะเลิศ (จำแนกตามสมาพันธ์ฟุตบอล)

สมาพันธ์ฟุตบอลชนะเลิศรองชนะเลิศอันดับสาม
ยูฟ่า16 (2007, 2008, 2009, 2010, 2011, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2020, 2021, 2022, 2023)3 (2005, 2006, 2012)0
คอนเมบอล4 (2000, 2005, 2006, 2012)11 (2000, 2007, 2008, 2009, 2011, 2014, 2015, 2017, 2019, 2021, 2023)5 (2010, 2013, 2016, 2018, 2022)
เอเอฟซี03 (2016, 2018, 2022)5 (2007, 2008, 2009, 2011, 2015)
ซีเอเอฟ02 (2010, 2013)4 (2006, 2020, 2021, 2023)
คอนคาแคฟ01 (2020)5 (2000, 2005, 2012, 2017, 2019)
โอเอฟซี001 (2014)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง