แชงกรีล่า ฟรอนเทียร์ ~เมื่อนักล่าเกมขยะท้าสู้ในเกมเทพ~

แชงกรีล่า ฟรอนเทียร์ ~เมื่อนักล่าเกมขยะท้าสู้ในเกมเทพ~[a] (ญี่ปุ่น: シャングリラ・フロンティア~クソゲーハンター、神ゲーに挑まんとす~โรมาจิShangurira Furontia ~ Kusogē hantā, Kamigē ni Idoman to su ~) เป็นซีรีส์นวนิยายเว็บญี่ปุ่น เขียนโดยคาตารินะ เริ่มเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์นิยายออนไลน์สร้างโดยผู้ใช้โชเซ็ตสึกะ นิ นาโรตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2560 ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือซีรีส์นวนิยาย มังงะดัดแปลงวาดภาพโดยเรียวซูเกะ ฟูจิ ตีพิมพ์ในนิตยสารโชเน็งแม็กกาซีนรายสัปดาห์ของสำนักพิมพ์โคดันชะตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 ซีรีส์มังงะมีลิขสิทธิ์ในประเทศไทยโดยสำนักพิมพ์รักพิมพ์ ซีรีส์อนิเมะโทรทัศน์ดัดแปลงผลิตโดยสตูดิโอซีทูซี ออกอากาศตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2566 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2567 ฤดูกาลที่ 2 มีกำหนดออกอากาศในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2567

แชงกรีล่า ฟรอนเทียร์
~เมื่อนักล่าเกมขยะท้าสู้ในเกมเทพ~
シャングリラ・フロンティア~クソゲーハンター、神ゲーに挑まんとす~
(Shangurira Furontia ~ Kusogē hantā, Kamigē ni Idoman to su ~)
ชื่อภาษาอังกฤษShangri-La Frontier
แนว
นวนิยายชุด
เขียนโดยคาตารินะ
สำนักพิมพ์โชเซ็ตสึกะ นิ นาโร
วางจำหน่ายตั้งแต่พฤษภาคม พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน
มังงะ
เขียนโดยคาตารินะ
วาดภาพโดยเรียวซูเกะ ฟูจิ
สำนักพิมพ์โคดันชะ
สำนักพิมพ์ภาคภาษาไทยรักพิมพ์
ในเครือโชเน็งแม็กกาซีนคอมิกส์
นิตยสารโชเน็งแม็กกาซีนรายสัปดาห์
กลุ่มเป้าหมายโชเน็ง
วางจำหน่ายตั้งแต่15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 – ปัจจุบัน
จำนวนเล่ม16 (ญี่ปุ่น)
11 (ไทย)
อนิเมะโทรทัศน์
กำกับโดยโทชิยูกิ คูโบโอกะ
เขียนบทโดยคาซูยูกิ ฟูเดยาซุ
ดนตรีโดยMonaca
สตูดิโอซีทูซี
ถือสิทธิ์โดยมิวส์ คอมมิวนิเคชัน
เครือข่ายJNN (MBS, TBS)
เครือข่ายภาษาไทยมิวส์ ไทยแลนด์, มิวส์ เอเชีย, ปีลีปีลี, อ้ายฉีอี้
ฉาย 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 – ปัจจุบัน
ตอน25
เกม
ผู้พัฒนาเน็ตมาร์เบิล เน็กซัส
ผู้จัดจำหน่ายเน็ตมาร์เบิล
icon สถานีย่อยการ์ตูนญี่ปุ่น

สื่อ

นิยายเว็บ

ซีรีส์ที่เขียนโดยคาตารินะ ได้รับการเผยแพร่ออนไลน์ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2560 บนเว็บไซต์สำนักพิมพ์นวนิยายที่ผู้ใช้สร้างขึ้น โชเซ็ตสึกะ นิ นาโร.[2] ยังไม่มีการตีพิมพ์นิยาย

มังงะ

มังงะที่ดัดแปลงโดยเรียวซูเกะ ฟูจิได้รับการตีพิมพ์ในโชเน็นแม็กกาซีนรายสัปดาห์ของสำนักพิมพ์โคดันชะ ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563[3] สำนักพิมพ์โคดันชะได้รวบรวมตอนต่างๆ ไว้ในรูปเล่ม โดยเล่มแรกวางจำหน่ายวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2563[4] วิดีโอโปรโมตที่บรรยายโดยอาซึมิ วากิ ​​และนำแสดงโดยยูมะ อุจิดะในบทซันราคุ ถูกโพสต์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2564 เพื่อฉลองครบรอบปีแรกของซีรีส์นี้[5]

จำนวนเล่ม

#วันที่ออกจำหน่ายต้นฉบับISBN ต้นฉบับวันที่ออกจำหน่ายภาษาไทยISBN ภาษาไทย
1 16 ตุลาคม พ.ศ. 2563[4][6]978-4-06-521529-6
978-4-06-521802-0 (LE)
978-616-574-099-9
2 17 ธันวาคม พ.ศ. 2563[7][8]978-4-06-521801-3
978-4-06-521529-6 (LE)
978-616-574-218-4
3 17 มีนาคม พ.ศ. 2564[9][10]978-4-06-522220-1
978-4-06-522219-5 (LE)
978-616-574-278-8
4 17 มิถุนายน พ.ศ. 2564[11][12]978-4-06-523584-3
978-4-06-523585-0 (LE)
978-616-574-378-5
5 17 สิงหาคม พ.ศ. 2564[13][14]978-4-06-524483-8
978-4-06-524502-6 (LE)
978-616-574-706-6
6 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564[15][16]978-4-06-526001-2
978-4-06-526002-9 (LE)
978-616-574-495-9
7 17 มกราคม พ.ศ. 2565[17][18]978-4-06-526603-8
978-4-06-526604-5 (LE)
978-616-574-515-4
8 15 เมษายน พ.ศ. 2565[19][20]978-4-06-527530-6
978-4-06-527528-3 (LE)
978-616-574-547-5
9 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2565[21][22]978-4-06-528432-2
978-4-06-528433-9 (LE)
978-616-574-706-6
10 16 กันยายน พ.ศ. 2565[23][24]978-4-06-529136-8
978-4-06-529137-5 (LE)
978-616-574-856-8
11 16 ธันวาคม พ.ศ. 2565[25][26]978-4-06-529989-0
978-4-06-529990-6 (LE)
978-616-574-943-5
12 16 มีนาคม พ.ศ. 2566[27][28]978-4-06-531037-3
978-4-06-531036-6 (LE)
13 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2566[29][30]978-4-06-531586-6
978-4-06-531585-9 (LE)
14 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2566[31][32]978-4-06-532219-2
978-4-06-532220-8 (LE)
15 17 ตุลาคม พ.ศ. 2566[33][34]978-4-06-533152-1
978-4-06-533146-0 (LE)
16 15 ธันวาคม พ.ศ. 2566[35][36]978-4-06-533887-2
978-4-06-533892-6 (LE)

อนิเมะ

ในวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 มีการประกาศสร้างซีรีส์โทรทัศน์อนิเมะที่ผลิตโดยสตูดิโอ C2C[37] ซีรีส์นี้กำกับโดยโทชิยูกิ คูโบโอกะ โดยมีฮิโรกิ อิเคชิตะทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยผู้กำกับ คาซูยูกิ ฟุเดยาสุดูแลและเขียนบทของซีรีส์ อายูมิ คุราชิมะเป็นผู้ออกแบบตัวละคร และดนตรีโดย Monaca ริวอิจิ ทาคาดะ, คุนิยูกิ ทาคาฮาชิ และ เคอิจิ ฮิโรคาวะแต่งเพลง[37][38] เปิดตัวออกอากาศครั้งแรกในช่วง Nichigo บนช่อง JNN ทั้งหมดในญี่ปุ่น รวมถึง MBS และ TBS[39][40][41] ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566[42] ถึง 31 มีนาคม พ.ศ. 2567[43] เพลงเปิด "Broken Games" ขับร้องโดย FZMZ ในขณะที่เพลงปิด "Ace" ขับร้องโดย Chico[42] มิวส์ คอมมิวนิเคชันได้รับลิขสิทธิ์ซีรีส์นี้ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้[44] เพลงเปิดที่สองคือ "Danger Danger" โดย FZMZ ร้องร่วมกับ Icy ในขณะที่เพลงจบที่สองคือ "Gajumaru: Heaven in the Rain" (ガジュマル ~Heaven in the Rain~) ร้องโดย Reona[45]

ฤดูกาลที่ 2 มีกำหนดฉายในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2567[46]

รายชื่อตอน

ตอนชื่อ [47][b]กำกับโดย [c]เขียนโดย [c]Storyboarded by [c]วันฉายเดิม [48]
1"คุณเล่นเกมไปทำไม?"
ถอดเสียง: "Anata wa Nan no Tame ni Gēmu o Shimasu ka?" (ญี่ปุ่น: 貴方はなんのためにゲームをしますか?)
ฮิโระ โอกิคาซึยูกิ ฟุเดยาสุโทชิยูกิ คุโบะโอกะ1 ตุลาคม 2566 (2566-10-01)
2"ผู้มีเอกลักษณ์"
ถอดเสียง: "Tokui Naru Mono" (ญี่ปุ่น: 特異なる者)
ฮิโรยูกิ โมริตะคาซึยูกิ ฟุเดยาสุฮิโรกิ อิเคชิตะ8 ตุลาคม 2566 (2566-10-08)
3"หมาป่าทมิฬพิชิตราตรี"
ถอดเสียง: "Kuro Ōkami Yashū" (ญี่ปุ่น: 黒狼夜襲)
ฮิโระ โอกิคาซึยูกิ ฟุเดยาสุมิชิโอะ ฟุกุดะ15 ตุลาคม 2566 (2566-10-15)
4"ชำระล้างค่านิยมด้วยเกมขยะ"
ถอดเสียง: "Koeta Kachikan o Kusogē de Sosogu" (ญี่ปุ่น: 肥えた価値観をクソゲーで濯ぐ)
คัตสึยูกิ โคมาอิคาซึยูกิ ฟุเดยาสุโนริอากิ ไซโตะ,
โทชิยูกิ คุโบะโอกะ,
ฮิโรกิ อิเคชิตะ
22 ตุลาคม 2566 (2566-10-22)
5"สุดท้ายแล้วคุณก็โดนล้อมไปด้วยคมหอก"
ถอดเสียง: "Kakute Nanji, Sōdō no Yaribusuma ni Kakomaren" (ญี่ปุ่น: かくて汝、騒動の槍衾に囲まれん)
โยชิทากะ นางาโอกะคาซึยูกิ ฟุเดยาสุทาเคบุมิ อันไซ29 ตุลาคม 2566 (2566-10-29)
6"ราชินีอัศวินแห่งเครื่องเขียน"
ถอดเสียง: "Hikkiyōgu no Kishi-ō" (ญี่ปุ่น: 筆記用具の騎士王)
ทาคาอากิ นากาโนะคาซึยูกิ ฟุเดยาสุทาคายูกิ อินากากิ5 พฤศจิกายน 2566 (2566-11-05)
7"สิ่งที่เหลืออยู่ของยุคสมัยแห่งพระเจ้า, ผู้แพ้ที่ยึดติด"
ถอดเสียง: "Jindai no Zanshi, Mōshū no Haisha" (ญี่ปุ่น: 神代の残滓、妄執の敗者)
ฮิโรยูกิ โมริตะคาซึยูกิ ฟุเดยาสุโยชิมาสะ ฮิราอิเกะ12 พฤศจิกายน 2566 (2566-11-12)
8"300 ลิมิต บทเพลงแห่งความคลุ้มคลั่ง"
ถอดเสียง: "Sanbyaku Rimitto Kyōsō Kyoku" (ญี่ปุ่น: 300リミット狂騒曲)
อากิฮิโกะ โอตะคาซึยูกิ ฟุเดยาสุชินจิ อิชิฮิระ19 พฤศจิกายน 2566 (2566-11-19)
9"ทะเลไม้ที่สวยสง่า"
ถอดเสียง: "Hanayaka Naru Ki no Umi" (ญี่ปุ่น: 華やかなる樹の海)
มิตสึโตชิ ซาโต้คาซึยูกิ ฟุเดยาสุทาคายูกิ อินากากิ26 พฤศจิกายน 2566 (2566-11-26)
10"ปล้นสุสานกันเถอะ!!"
ถอดเสียง: "Yarō ze, Haka Arashi!!" (ญี่ปุ่น: やろうぜ、墓荒らし!!)
โยชิทากะ นางาโอกะคาซึยูกิ ฟุเดยาสุโนริอากิ ไซโตะ, โทชิยูกิ คุโบะโอกะ,
ฮิโรกิ อิเคชิตะ
3 ธันวาคม 2566 (2566-12-03)
11"แสงเจิดจรัสที่แท้จริง"
ถอดเสียง: "Makoto no Kagayaki" (ญี่ปุ่น: まことのかがやき)
เทปเป ทาเคยะคาซึยูกิ ฟุเดยาสุทาเคบุมิ อันไซ10 ธันวาคม 2566 (2566-12-10)
12"การเสียใจภายหลังจะเกิดขึ้นในอดีตเสมอ"
ถอดเสียง: "Kōkai wa Itsumo Kako ni iru" (ญี่ปุ่น: 後悔はいつも過去にいる)
อายูมิ คุราชิมะคาซึยูกิ ฟุเดยาสุโยชิมาสะ ฮิราอิเกะ17 ธันวาคม 2566 (2566-12-17)
13"ที่อยู่ตรงนั้นมีแค่ความอาวรณ์"
ถอดเสียง: "Miren Dake ga Soko ni Iru" (ญี่ปุ่น: 未練だけがそこにいる)
อายูมิ คุราชิมะคาซึยูกิ ฟุเดยาสุทาเคบุมิ อันไซ24 ธันวาคม 2566 (2566-12-24)
14"เล็กน้อย"
ถอดเสียง: "Sumasshu" (ญี่ปุ่น: スマッシュ)
อายูมิ คุราชิมะคาซึยูกิ ฟุเดยาสุโทคุอากิ ไซโต้7 มกราคม ค.ศ. 2024 (2024-01-07)
14.5"Special Bonus Episode"
ถอดเสียง: "Tokubetsu Bōnasu Episōdo" (ญี่ปุ่น: 特別ボーナスエピソード)
อายูมิ คุราชิมะคาซึยูกิ ฟุเดยาสุไดสุเกะ มัตสึกิ14 มกราคม 2567 (2567-01-14)
สรุปตอนที่ผ่านมา บรรยายโดยผู้พากย์ตัวละครซันราคุ, โอคัตโซ, อาเธอร์ และเอลมู
15"ทุ่มเทความรู้สึกในชั่วพริบตา พาร์ทหนึ่ง"
ถอดเสียง: "Setsuna ni Omoi o Komete Sono Ichi" (ญี่ปุ่น: 刹那に想いを込めて其の一)
เอริ โคจิมะ,
อายูมิ คุราชิมะ
คาซึยูกิ ฟุเดยาสุทาคายูกิ อินากากิ21 มกราคม 2567 (2567-01-21)
16"ทุ่มเทความรู้สึกในชั่วพริบตา พาร์ทสอง"
ถอดเสียง: "Setsuna ni Omoi o Komete Sono Ni" (ญี่ปุ่น: 刹那に想いを込めて其の二)
เอมิ โคโนะ,
ทาเคชิ โอดะ
คาซึยูกิ ฟุเดยาสุมิชิโอะ ฟุกุดะ28 มกราคม 2567 (2567-01-28)
17"ทุ่มเทความรู้สึกในชั่วพริบตา พาร์ทสาม"
ถอดเสียง: "Setsuna ni Omoi o Komete Sono San" (ญี่ปุ่น: 刹那に想いを込めて其の三)
TBDคาซึยูกิ ฟุเดยาสุTBA4 กุมภาพันธ์ 2567 (2567-02-04)
18"ทุ่มเทความรู้สึกในชั่วพริบตา พาร์ทสี่"
ถอดเสียง: "Setsuna ni Omoi o Komete Sono Shi" (ญี่ปุ่น: 刹那に想いを込めて其の四)
TBDคาซึยูกิ ฟุเดยาสุTBA11 กุมภาพันธ์ 2567 (2567-02-11)
19"โลกที่ก้าวไปต่อ ฮีโร่ผู้ถูกเปิดเผย"
ถอดเสียง: "Sekai wa Shinpo Shi, Eiyū ga Arawareru" (ญี่ปุ่น: 世界は進歩し、英雄が現れる)
TBDTBDTBA18 กุมภาพันธ์ 2567 (2567-02-18)
20"ปัจจุบันและอนาคตของแต่ละคน"
ถอดเสียง: "Sorezore no ima to ji" (ญี่ปุ่น: それぞれの今と次)
TBDTBDTBA25 กุมภาพันธ์ 2567 (2567-02-25)
21"ธุระ การเลี้ยงดู และการพิชิต"
ถอดเสียง: "Otsukai to Ikusei to Kōryaku to" (ญี่ปุ่น: お使いと育成と攻略と)
TBDTBDTBA3 มีนาคม 2567 (2567-03-03)
22"วอล์กกิ้ง ออฟ เดอะ แอร์คลีนเนอร์"
ถอดเสียง: "Wōkingu・Obu・Za・Eakurīnā" (ญี่ปุ่น: ウォーキング・オブ・ザ・エアクリーナー)
TBDTBDTBA10 มีนาคม 2567 (2567-03-10)
23"นกwithกระต่าย vs. กระโหลกประสานเสียง"
ถอดเสียง: "Tori with Usagis vs Gasshō Sharekōbe" (ญี่ปุ่น: 鳥with兎s vs 合唱髑髏)
TBDTBDTBA17 มีนาคม 2567 (2567-03-17)
24"แรร์ไอเทมนั้นมีน้ำหนักมากกว่าชีวิต"
ถอดเสียง: "Reāitemu wa Inochi Yori mo Omoi" (ญี่ปุ่น: レアアイテムは命よりも重い)
TBDTBDTBA24 มีนาคม 2567 (2567-03-24)
25"ผู้บุกเบิกความมืดของโลก"
ถอดเสียง: "Sekai no Kurayami o Hiraku mono" (ญี่ปุ่น: 世界の暗闇を拓く者)
TBDTBDTBA31 มีนาคม 2567 (2567-03-31)

วีดีโอเกม

เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ได้มีการประกาศวิดีโอเกมชื่อเดียวกันที่พัฒนาโดย Netmarble Nexus และเผยแพร่โดย Netmarble[37][49]

หมายเหตุ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: หน้าหลักสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024บางกอกคณิกาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เนติพร เสน่ห์สังคมวิทยาศาสตร์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)วันวิสาขบูชาวอลเลย์บอลลมเล่นไฟตารางธาตุอันดับโลกเอฟไอวีบีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์หมวดหมู่:จังหวัดของประเทศไทยไลเกอร์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยไอแซก นิวตันศาสนาพุทธราชวงศ์จักรีกาลิเลโอ กาลิเลอีประวัติศาสตร์ชาร์เลท วาศิตา แฮเมเนารายชื่อเครื่องดนตรีจังหวัดชัยนาทสังคายนาในศาสนาพุทธประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดนิวแคลิโดเนียวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยศาสนาพุทธในประเทศพม่าพระสุนทรโวหาร (ภู่)นริลญา กุลมงคลเพชร