ข่าวลวงเรื่องไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์

ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์ (อังกฤษ: dihydrogen monoxide: DHMO) เป็นชื่อวิทยาศาสตร์หนึ่งของน้ำ ใช้ในการหลอกลวงหรือล้อเลียนทางวิทยาศาสตร์ เพื่อแสดงว่าข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์หรือเพียงด้านเดียวสามารถสร้างความกลัวอย่างผิดๆได้อย่างไร การหลอกลวงนี้เริ่มต้นโดย Eric Lechner, Lars Norpchen และ Matthew Kaufman ในปี พ.ศ. 2532 ปรับปรุงโดย Craig Jackson ในปี พ.ศ. 2537 และเป็นที่กล่าวถึงในปี พ.ศ. 2540 จากการที่ Nathan Zohner วัย 14 ปีสามารถรวบรวมรายชื่อของนักเรียนมัธยมที่ต้องการแบนสารนี้ และสรุปลงในโครงงานที่ชื่อว่า "How Gullible Are We?" (เราโดนหลอกง่ายแค่ไหน?) [1]

โครงสร้างโมเลกุลของน้ำ ไฮโดรเจนสองอะตอมและออกซิเจนหนึ่งอะตอม

การหลอกลวงนี้กล่าวถึงผลกระทบด้านลบของน้ำ เช่นการจมน้ำ และ การกัดกร่อน ไดไฮโดรเจนมอนอกไซด์มีความหมายถึงสารที่มีไฮโดรเจนสองอะตอมและออกซิเจนหนึ่งอะตอม (H2O)

ชื่อทางเคมีอื่น ๆ ที่ถูกใช้เป็นข่าวลวงเช่น กรดไฮดรอกซิล (hydroxyl acid) และ ไฮโดรเจนออกไซด์ (hydrogen oxide) ก็หมายถึงน้ำเช่นกัน

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง