ภาษามอแซนแดรอน

มอแซนแดรอน (مازندرانی) หรือ แทแบรี (طبری)[1] เป็นภาษากลุ่มอิหร่านในสาขาตะวันตกเฉียงเหนือที่พูดโดยชาวมอแซนแดรอน ข้อมูลเมื่อ 2021 มีผู้พูดภาษาแม่มากกว่า 5,320,000 คน[2] ถึงแม้ว่าภาษาเปอร์เซียมีอิทธิพลต่อภาษามอแซนแดรอนอย่างมาก ภาษานี้ยังคงอยู่รอดในฐานะภาษาอิสระที่มีต้นกำเนิดจากอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ[3][4]

ภาษามอแซนแดรอน
مازرونی‎ (Mazuroni)[1]
طبری (Tabari)[1]
มอแซนแดรอน (มอซูโรนี) ในแบบอักษรแนสแทอ์ลีก (مازرونی)
ประเทศที่มีการพูดประเทศอิหร่าน (จังหวัดมอแซนแดรอนและบางส่วนของจังหวัดแอลโบร์ซ, เตหะราน, เซมนอน และโกเลสถาน)
ภูมิภาคชายฝั่งทางใต้ของทะเลแคสเปียน
ชาติพันธุ์ชาวมอแซนแดรอน
จำนวนผู้พูด2.320 ล้านคน (2019)[2]  (2016)
ตระกูลภาษา
ภาษาถิ่น
มอแซนแดรอน (Main)
มอแซนแดรอน (Royan)
Shahmirzadi
Mazandarani-Gilaki
ระบบการเขียนอักษรเปอร์เซีย
สถานภาพทางการ
ผู้วางระเบียบไม่มี แต่ the Linguistic faculty of Mazandaran University เป็นผู้รวบรวมข้อมูลอย่างเป็นทางการ
รหัสภาษา
ISO 639-3อย่างใดอย่างหนึ่ง:
mzn – มอแซนแดรอน
srz – Shahmirzadi
พื้นที่ที่มีผู้พูดภาษามอแซนแดรอนเป็นภาษาแม่
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษามอแซนแดรอนมีความใกล้ชิดกับภาษาคิเลกี และทั้งสองภาษามีคำศัพท์คล้ายกัน[5] โดยมีคุณสมบัติประเภทของกลุ่มภาษาคอเคซัส[6][7][8] สะท้อนถึงประวัติศาสตร์, อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ และความใกล้ชิดกับภูมิภาคคอเคซัสและชาวคอเคซัสของชาวมอแซนแดรอนกับชาวคิเลกี[9][10]

ที่มาของชื่อ

ชื่อภาษามาจากชื่อของบริเวณนี้ในอดีตคือมอแซนแดรอนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรตาปูเรียในอดีต ชาวบ้านเรียกภาษาของตนว่าภาษาแทแบรี[11]

ประวัติ

ในบรรดาภาษากลุ่มอิหร่านที่ยังเหลืออยู่ ภาษามอแซนแดรอนมีประวัติการเขียนที่ยาวนานเริ่มตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 15 -20 ซึ่งเป็นผลมาจากการที่มาซันดารานเป็นรัฐอิสระอีกหลายศตวรรษหลังการรุกรานของชาวอาหรับ[12] มีวรรณคดีที่สำคัญมาก เช่น Marzban Nameh (แปลเป็นภาษาเปอร์เซียแล้ว) การใช้ภาษามอแซนแดรอนในปัจจุบันเริ่มน้อยลง เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียแ ละผู้พูดภาษานี้พยายามกลมกลืนเข้ากับผู้พูดภาษาเปอร์เซีย บทบาททางด้านวรรณคดีและการปกครองถูกแทนที่ด้วยภาษาเปอร์เซีย ซึ่งเป็นเพราะถูกผนวกเข้ากับอิหร่านตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 22

ไวยากรณ์

ภาษามอแซนแดรอนมีการผันคำ และไม่มีเพศทางไวยากรณ์ [13] เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม

สัณฐานวิทยา

การก

การกตำแหน่งความหมาย

Sere-a

Nominative

The Home

Sere re

Accusative

To the Home

Sereo

Vocative

Home!

Sere şe

Genitive

Home’s

Sere re

Dative

To the Home

Sere ye jä

Ablative

By the Home

คุณศัพท์

คุณศัพท์ตำแหน่งความหมาย

And-e Sere

Applicative

 

Gat e Sere

Comparative

Big Home

untä Sere

Determinative

That Home

Səre

Superlative

Xär Sere

ปัจจัย

ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างที่ได้มาจาก Online Mazandarani-Persian dictionary เก็บถาวร 2007-05-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.

บอกสถานที่

ปัจจัย

ตัวอย่าง

ความหมาย

Kash

Kharkash

Good Place

Kel

Tutkel

Mulberry Limit

Ij

Yoshij

Yoshian

Bun

Chenarbon

At the Plantain

Ja

Səre Ja

Of Home

Sar

Bənesar

At the Below

บอกประธาน

ปัจจัย

ตัวอย่าง

ความหมาย

Chaf

Au Chaf

Water Sucker

Rush

Halikrush

Drupelet Seller

Su

Vərgsu

Wolf Hunter

Kaf

Ukaf

Who acts in water

Vej

Galvej

Mouse Finder

Yel

vəngyel

Bandmaster


อ้างอิง

อ่านเพิ่ม

  • Borjian, Habib (2006). "The Oldest Known Texts in New Tabari: The Collection of Aleksander Chodzko". Archiv Orientální. 74 (2): 153–171.
  • ______________. 2006. A Mazanderani account of the Babi Incident at Shaikh Tabarsi. Iranian Studies 39(3):381–400.
  • ______________. 2006. Textual sources for the study of Tabari language. I. Olddocuments. Guyesh-shenâsi 4.
  • ______________. 2008. Tabarica II: Some Mazanderani Verbs. Iran and the Caucasus 12(1):73–82.
  • ______________. Two Mazanderani Texts from the Nineteenth Century. Studia Iranica 37(1):7–50.
  • Borjian, Habib; Borjian, Maryam (2007). "Ethno-Linguistic Materials from Rural Mazandaran: Mysterious Memories of a Woman". Iran and the Caucasus. 11 (2): 226–254. doi:10.1163/157338407X265469.
  • Borjian, Habib; Borjian, Maryam (2008). "The Last Galesh Herdsman: Ethno-Linguistic Materials from South Caspian Rainforests". Iranian Studies. 41 (3): 365–402. doi:10.1080/00210860801981336.
  • Le Coq, P. 1989. Les dialects Caspiens et les dialects du nord-ouest de l'Iran. In Rüdiger Schmitt (ed.), Compendium linguarum Iranicarum. Wiesbaden: L. Reichert. pp. 296–312.
  • Nawata, Tetsuo. 1984. Māzandarāni. Tokyo: Institute for the Study of Languages and Cultures of Asia and Africa. Series: Asian and African Grammatical Manual; 17. 45 + iii pp.
  • Shokri, Giti. 1990. Verb Structure in Sāri dialect. Farhang, 6:217–231. Tehran: Institute for Humanities and Cultural Studies เก็บถาวร 2011-10-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  • _________. 1995/1374 A.P. Sārī Dialect. Tehran: Institute for Humanities and Cultural Studies เก็บถาวร 2011-10-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  • Shokri, Giti. 2006. Ramsarī Dialect. Tehran: Institute for Humanities and Cultural Studies เก็บถาวร 2011-10-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  • Yoshie, Satoko. 1996. Sārī Dialect. Tokyo: Institute for the Study of Languages and Cultures of Asia and Africa. Series: Iranian Studies; 10.

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง