ยุคคาร์บอนิเฟอรัส

ยุคคาร์บอนิเฟอรัส (อังกฤษ: Carboniferous) อยู่ในช่วง 354 – 295 ล้านปีก่อน เป็นยุคของป่าเฟินขนาดยักษ์ปกคลุมห้วย หนอง คลองบึง ซึ่งกลายเป็นแหล่งน้ำมันดิบที่สำคัญในปัจจุบัน มีการแพร่พันธุ์ของแมลง และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เริ่มมีวิวัฒนาการของสัตว์เลื้อยคลาน กำเนิดไม้ตระกูลสน ช่วงแรกเกิดต้นไม้โบราณขนาดใหญ่ และพื้นที่ลุ่มชื้นบนแผ่นดิน พบสัตว์มีกระดูกสันหลังบนแผ่นดินชนิดแรก และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เกิดปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ที่มีครีบพู่ (Rhizodontida) ในมหาสมุทรเกิดปลาฉลามยุคแรก และมีหลากหลายชนิดเกิดแมงป่องทะเล ไครนอยด์ ปะการัง โกเนียไทต์-แอมโมนอยด์ และแบรคิโอพอด พบได้ทั่วไป แต่ ไทรโลไบต์ และนอติลอยด์ พบชนิด และจำนวนน้อยลง น้ำแข็งปกคลุมด้านตะวันออกของกอนวานา

ยุคคาร์บอนิเฟอรัส
358.9 ± 0.4 – 298.9 ± 0.15 ล้านปีก่อน
วิทยาการลำดับเวลา
การแบ่งย่อยของยุคคาร์บอนิเฟอรัสตาม ICS ปี 2564[1]
มาตราแกนแนวตั้ง: ล้านปีก่อน
นิรุกติศาสตร์ความเป็นทางการของชื่อทางการชื่อลำลองยุคของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกข้อมูลการใช้เทห์วัตถุโลกการใช้ระดับภาคทั่วโลก (ICS)การใช้ช่วงเวลาธรณีกาลของ ICSการนิยามหน่วยวิทยาการลำดับเวลายุคหน่วยลำดับชั้นหินหินยุคเสนอครั้งแรกโดยWilliam Daniel Conybeare and William Phillips, 1822ความเป็นทางการของช่วงกาลทางการคำนิยามขอบล่างการปรากฏระดับอ้างอิงครั้งแรกของโคโนดอนต์ Siphonodella sulcata (ค้นพบว่ามีปัญหาลำดับชั้นหินตามชีวภาพตั้งแต่ปี 2006)[2]ขอบล่าง GSSPลาแซร์ ม็องตาญนัวร์ ประเทศฝรั่งเศส
43°33′20″N 3°21′26″E / 43.5555°N 3.3573°E / 43.5555; 3.3573การอนุมัติ GSSP1990[3]คำนิยามขอบบนการปรากฏระดับอ้างอิงครั้งแรกของโคโนดอนต์ Streptognathodus isolatus ภายในภาวะพหุสัณฐาน Streptognathodus wabaunsensis chronoclineขอบบน GSSPไอเดราลัช เทือกเขายูรัล ประเทศคาซัคสถาน
50°14′45″N 57°53′29″E / 50.2458°N 57.8914°E / 50.2458; 57.8914การอนุมัติ GSSP1996[4]ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศปริมาณ O
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศประมาณ 32.3 % โดยปริมาตร
(162 % ของปัจจุบัน)ปริมาณ CO
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศประมาณ 800 ppm
(3 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม)อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยประมาณ 14 °C
(สูงกว่าปัจจุบัน 0 °C)ระดับน้ำทะเลสูงกว่าปัจจุบันลดลงจาก 120 เมตรจนถึงระดับปัจจุบันตลอดสมัยมิซซิสซิปเปียน จากนั้นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ถึงประมาณ 80 เมตรที่จุดสิ้นสุดของยุค[5]

แมลงมีปีกพบมาก และหลายชนิด แมลงบางชนิด มีขนาดใหญ่มาก สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ พบทั่วไป และหลากหลาย พบสัตว์เลื้อยคลานเป็นครั้งแรก เกิดป่าที่ประกอบด้วย เฟิร์น ต้นคลับมอส ต้นหางม้าขนาดใหญ่ ในยุคนี้ระดับออกซิเจนในบรรยากาศมีค่าสูงสุด โกเนียไทต์ แบรคิโอพอด ไบรโอซัว และปะการัง พบได้ทั่วไปในทะเลและมหาสมุทร

อ้างอิง

ก่อนหน้า
บรมยุคโพรเทอโรโซอิก
บรมยุคฟาเนอโรโซอิก
541 Ma - ปัจจุบัน
มหายุคพาลีโอโซอิก
541 Ma - 252 Ma
มหายุคมีโซโซอิก
252 Ma - 66 Ma
มหายุคซีโนโซอิก
66 Ma - ปัจจุบัน
แคมเบรียนออร์โดวิเชียนไซลูเรียนดีโวเนียนคาร์บอนิเฟอรัสเพอร์เมียนไทรแอสซิกจูแรสซิกครีเทเชียสพาลีโอจีนนีโอจีนควอเทอร์นารี
🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง