ยุทธการที่มะนิลา (ค.ศ. 1945)

ยุทธการที่มะนิลา (ฟิลิปปินส์: Labanan sa Maynila; ญี่ปุ่น: マニラの戦い; สเปน: Batalla de Manila; 3 กุมภาพันธ์ - 3 มีนาคม ค.ศ. 1945) เป็นการรบครั้งใหญ่ของการทัพฟิลิปปินส์ ค.ศ. 1944-45 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการสู้รบทางกองกำลังทหารจากทั้งสหรัฐและฟิลิปปินส์ต่อสู้กับกองกำลังญี่ปุ่นในกรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟิลิปปินส์ เป็นการสู้รบที่ยาวนานเป็นเดือน ส่งผลทำให้พลเรือนเสียชีวิตกว่า 100,000 คน และเมืองได้ถูกทำลายทั้งหมด เป็นยุทธภูมิการสู้รบภายในเมืองที่เลวร้ายที่สุดที่กองทัพอเมริกันในเขตสงครามแปซิฟิก กองกำลังญี่ปุ่นได้กระทำการสังหารหมู่พลเรือนชาวฟิลิปปินส์ในช่วงการสู้รบแต่กระนั้นการใช้อาวุธของทหารอเมริกันได้สังหารผู้คนไปมากมายเช่นกัน เช่น การยิงปืนใหญ่ของทหารอเมริกันยังได้ทำลายมรดกทางสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมของกรุงมะนิลาที่มีมาตั้งแต่สมัยก่อตั้งเมือง กรุงมะนิลากลายเป็นหนึ่งในเมืองหลวงที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดในช่วงสงครามทั้งหมด เทียบเท่ากับกรุงเบอร์ลินและกรุงวอร์ซอ การสู้รบครั้งนี้ได้ยุติการยึดครองทางทหารของญี่ปุ่นในฟิลิปปินส์เกือบสามปี (ค.ศ. 1942-1945) การรบชนะเป็นเครื่องหมายสำคัญสู่กุญแจแห่งชัยชนะในการทัพของนายพล ดักลาส แมกอาเธอร์ จนถึงปัจจุบัน

ยุทธการที่มะนิลา
ส่วนหนึ่งของ การทัพฟิลิปปินส์ ค.ศ. 1944–1945 และ เขตสงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง

ภาพถ่ายทางอากาศของกำแพงเมืองอินทรามูรอสที่ถูกทำลาย ซึ่งถูกถ่ายในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945
วันที่3 กุมภาพันธ์ – 3 มีนาคม ค.ศ. 1945
สถานที่
มะนิลา, ฟิลิปปินส์
14°35′N 120°58′E / 14.583°N 120.967°E / 14.583; 120.967
ผลฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ
คู่สงคราม

 สหรัฐ

  • เครือจักรภพฟิลิปปินส์

 ญี่ปุ่น

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
ดักลาส แมกอาร์เธอร์
ออสการ์ กริสโวลด์
โรเบิร์ต เอ็ส ไบต์เลอร์
เวิร์น ดี มัดจ์
โจเซฟ เอ็ม สวิง
โทโมยูกิ ยามาชิตะ
ซันจิ อิวะบุจิ 
กำลัง
ทหารสหรัฐ 35,000 นาย
กองโจรชาวฟิลิปปินส์ 3,000 นาย
ทหารเรือและนาวิกโยธิน 12,500 นาย
ทหาร 4,500 นาย[2]: 73 
ความสูญเสีย
เสียชีวิต 1,010 นาย
บาดเจ็บ 5,565 นาย[2]: 195 
เสียชีวิต 16,665 นาย (นับรวมถึงการตายในอินทรามูรอสเพียงลำพัง)[2]: 174 
พลเรือน:
เสียชีวิต 100,000 คน
ความสูญเสียทั้งหมด 250,000 ทั้งหมด[2]: 174 

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง