วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: FIVB Volleyball Women's World Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในร่มระดับนานาชาติของประเภททีมหญิง

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2022
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้ง1952
ฤดูกาลแรก1952
ซีอีโอบราซิล อารี กราซา
จำนวนทีม24 (Finals)
ทวีประหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย (สมัยที่ 2)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติรัสเซีย รัสเซีย (7 สมัย)
เว็บไซต์FIVB Volleyball World Championships

สรุปการแข่งขัน

ปีเจ้าภาพรอบชิงชนะเลิศรอบชิงอันดับที่ 3จำนวนทีม
ทีมชนะเลิศคะแนนทีมรองชนะเลิศทีมอันดับที่ 3คะแนนทีมอันดับที่ 4
1952
รายละเอียด

สหภาพโซเวียต

สหภาพโซเวียต
พบกันหมด
โปแลนด์

เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด
บัลแกเรีย
8
1956
รายละเอียด

ฝรั่งเศส

สหภาพโซเวียต
พบกันหมด
โรมาเนีย

โปแลนด์
พบกันหมด
เชโกสโลวาเกีย
17
1960
รายละเอียด

บราซิล

สหภาพโซเวียต
พบกันหมด
ญี่ปุ่น

เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด
โปแลนด์
10
1962
รายละเอียด

สหภาพโซเวียต

ญี่ปุ่น
พบกันหมด
สหภาพโซเวียต

โปแลนด์
พบกันหมด
บัลแกเรีย
14
1967
รายละเอียด

ญี่ปุ่น

ญี่ปุ่น
3-1
สหรัฐ

เกาหลีใต้
3-0
เปรู
4
1970
รายละเอียด

บัลแกเรีย

สหภาพโซเวียต
3-1
ญี่ปุ่น

เกาหลีเหนือ
พบกันหมด
ฮังการี
16
1974
รายละเอียด

เม็กซิโก

ญี่ปุ่น
3-0
สหภาพโซเวียต

เกาหลีใต้
พบกันหมด
เยอรมนีตะวันออก
23
1978
รายละเอียด

สหภาพโซเวียต

คิวบา
3–0
ญี่ปุ่น

สหภาพโซเวียต
3–1
เกาหลีใต้
23
1982
รายละเอียด

เปรู

จีน
3–0
เปรู

สหรัฐ
3–1
ญี่ปุ่น
23
1986
รายละเอียด

เชโกสโลวาเกีย

จีน
3–1
คิวบา

เปรู
3–1
เยอรมนีตะวันออก
16
1990
รายละเอียด

จีน

สหภาพโซเวียต
3–1
จีน

สหรัฐ
3–1
คิวบา
16
1994
รายละเอียด

บราซิล

คิวบา
3–0
บราซิล

รัสเซีย
3–1
เกาหลีใต้
16
1998
รายละเอียด

ญี่ปุ่น

คิวบา
3–0
จีน

รัสเซีย
3–1
บราซิล
16
2002
รายละเอียด

เยอรมนี

อิตาลี
3–2
สหรัฐ

รัสเซีย
3–1
จีน
24
2006
รายละเอียด

ญี่ปุ่น

รัสเซีย
3–2
บราซิล

เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
3–0
อิตาลี
24
2010
รายละเอียด

ญี่ปุ่น

รัสเซีย
3–2
บราซิล

ญี่ปุ่น
3–2
สหรัฐ
24
2014
รายละเอียด

อิตาลี

สหรัฐ
3–1
จีน

บราซิล
3–2
อิตาลี
24
2018
รายละเอียด

ญี่ปุ่น

เซอร์เบีย
3–2
อิตาลี

จีน
3–0
เนเธอร์แลนด์
24
2022
รายละเอียด

เนเธอร์แลนด์ / โปแลนด์

เซอร์เบีย
3–0
บราซิล

อิตาลี
3–0
สหรัฐ
24

เจ้าภาพ

รายชื่อเจ้าภาพแบ่งตามจำนวนการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันชิงแชมป์โลก

เจ้าภาพทีมที่เป็นเจ้าภาพ (ค.ศ.)
5  ญี่ปุ่น (1967, 1998, 2006, 2010, 2018)
3  สหภาพโซเวียต (1952, 1962, 1978)
2  บราซิล (1960, 1994)
1  ฝรั่งเศส (1956)
 บัลแกเรีย (1970)
 เม็กซิโก (1974)
 เปรู (1982)
 เชโกสโลวาเกีย (1986)
 จีน (1990)
 เยอรมนี (2002)
 อิตาลี (2014)
 เนเธอร์แลนด์ (2022)*
 โปแลนด์ (2022)*
* = เจ้าภาพร่วม

ตารางเหรียญการแข่งขัน

อันดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  รัสเซีย[A]72413
2  ญี่ปุ่น3317
3  คิวบา3104
4  จีน2305
5  เซอร์เบีย[B]2012
6  สหรัฐ1225
7  อิตาลี1011
8  บราซิล0414
9  โปแลนด์0123
10  เปรู0112
11  โรมาเนีย0101
12  เช็กเกีย[C]0022
 เกาหลีใต้0022
13  เกาหลีเหนือ0011
รวม17171751

ผู้เล่นทรงคุณค่า

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง