สกั๊ด

สกั๊ด (อังกฤษ: Scud) เป็นชื่อที่ใช้เรียกขีปนาวุธทางยุทธศาสตร์ของสหภาพโซเวียต ที่ผลิตขึ้นระหว่างสงครามเย็น และมีใช้อย่างแพร่หลายไปทั่วโลก มาจากชื่อที่นาโตใช้เรียกขีปนาวุธ R-11, R-17 และ R-300 เอลบรูส ของโซเวียต ว่า SS-1 Scud ปัจจุบันชื่อนี้ใช้เป็นชื่อรวมๆ ที่เรียกขีปนาวุธทั้งหลายที่พัฒนามาจากขีปนาวุธต้นแบบของโซเวียต ทั้งตระกูล Al-Hussein, Al-Abbas ที่พัฒนาโดยอิรัก ตระกูล Shahab ที่พัฒนาโดยอิหร่าน และ Hwasong, Rodong ที่พัฒนาโดยเกาหลีเหนือ

จรวด R-17 (SS-1c Scud-B) ของโปแลนด์
รถยิงขีปนาวุธ MAZ-543 ที่ใช้ยิงสกั๊ด (R-300 Elbrus / SS-1c Scud-B)

คุณสมบัติ

รหัสเรียกขาน NATOScud-AScud-BScud-CScud-D
รหัสเรียกขานสหรัฐSS-1bSS-1cSS-1dSS-1e
ชื่อทางการR-11R-17/R-300
เริ่มใช้งาน195719641965?1989?
ความยาว10.7 m11.25 m11.25 m12.29 m
ความกว้าง0.88 m0.88 m0.88 m0.88 m
น้ำหนัก4,400 kg5,900 kg6,400 kg6,500 kg
ระยะทำการ150 km300 km575-600 km700 km
น้ำหนักบรรทุก950 kg985 kg600 kg985 kg
ความแม่นยำ4000 m900 m900 m50 m

ประเทศที่มีใช้งาน

สกั๊ดบรรทุกบนรถ TEL (Transporter Erector Launcher) ที่สหรัฐอเมริกายึดมาจากอิรัก ขณะเตรียมพร้อมยิง
รถยิงขีปนาวุธสกั๊ดของกองทัพอัฟกานิสถาน
ทหารสหรัฐ กำลังสำรวจซากขีปนาวุธสกั๊ดในสงครามอ่าวเปอร์เซีย

ประเทศ และอดีตประเทศที่เคยครอบครองและใช้งานสกั๊ด และขีปนาวุธที่พัฒนามาจากสกั๊ด[1]

 อัฟกานิสถาน
(Scud-B, Scud-C?)
 อาร์มีเนีย
(Scud-B, Scud-C)
 อาเซอร์ไบจาน
(Scud-B)
 เบลารุส
(Scud-B) - ปลดประจำการ
 บัลแกเรีย
(Scud-B)
 สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
(Scud-B)
 เชโกสโลวาเกีย
ปลดประจำการ
 เช็กเกีย
(Scud-B) - ปลดประจำการ
 เยอรมนีตะวันออก
ปลดประจำการ
 เอกวาดอร์
(Scud-B)
 อียิปต์
(Scud-B, Hwasong-6)
 ฮังการี
(Scud-B) - ปลดประจำการ
 อิรัก
(Scud-B, Al-Hussein, Al-Abbas)
 อิหร่าน
(Scud-B, Hwasong-5, Shahab-1, Shahab-2)
 คาซัคสถาน
(Scud-B)
 ลิเบีย
(Scud-B)
 เกาหลีเหนือ
(Scud-B, Hwasong-5, Hwasong-6, Rodong-1)
 เปรู
(Scud-B)
 โปแลนด์
(Scud-B) - ปลดประจำการ
 โรมาเนีย
(Scud-B)
 รัสเซีย
(Scud-B, Scud-C?, Scud-D?)
 เยเมนใต้
ปลดประจำการ
 สหภาพโซเวียต
กองทัพโซเวียต - ปลดประจำการ
 สโลวาเกีย
(Scud-B)
 ซีเรีย
(Scud-B, Hwasong-6)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
Hwasong-5
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ซื้อ Hwasong-5 จำนวน 25 ลูกจากเกาหลีเหนือในปี 1989 แต่กองทัพไม่พอใจคุณภาพ จึงเก็บไว้ในคลังแสงโดยไม่นำออกมาใช้งาน[2]
 ยูเครน
(Scud-B)
 สหรัฐ
Scud-B 3 ลูก และ TEL (Transporter Erector Launcher) 4 ชุด
สหรัฐยึดมาจากอิรักในปี 1995 และนำมาใช้เป็นเป้าทดสอบขีปนาวุธ โดยล็อกฮีดมาร์ติน[1]
 เวียดนาม
(Scud-B, Hwasong-6?)
 เยเมน
(Scud-B)

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง