การอ้างเหตุผล

การอ้างเหตุผล (อังกฤษ: argument) คือการพิสูจน์หรือตรวจสอบข้อความ ประโยค หรือประพจน์ที่เป็นข้อตั้ง โดยสามารถนำไปตั้งบทสรุปได้[1] มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหตุผลสำหรับบทสรุปของสิ่งหนึ่งด้วยการกล่าวอ้าง อธิบาย หรือชักจูง และเพื่อพิสูจน์ความน่าเชื่อถือว่าข้อความที่เป็นบทสรุปนั้นสอดคล้องกับความจริงมากเพียงใด[2][3]

ในตรรกศาสตร์ การอ้างเหตุผลจะอยู่ในรูปของภาษารูปนัยเชิงสัญลักษณ์ และไม่อยู่ในรูปของภาษาธรรมชาติ และสามารถนิยามได้ว่าเป็นกลุ่มของประพจน์ที่ประพจน์หนึ่งอ้างว่ามาจากประพจน์อื่น ๆ ผ่านการอนุมานที่สมเหตุสมผลแบบนิรนัยซึ่งพิสูจน์ความจริงได้ตั้งแต่ส่วนของข้อตั้งไปจนถึงบทสรุป ซึ่งมุมมองเชิงตรรกศาสตร์เกี่ยวกับการอ้างเหตุผลนี้ยังมีความเกี่ยวข้องในสาขาวิชาต่าง ๆ เช่น คณิตศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง