ฟุตบอลทีมชาติเดนมาร์ก

ฟุตบอลทีมชาติเดนมาร์ก (เดนมาร์ก: Danmarks fodboldlandshold) เป็นตัวแทนของประเทศเดนมาร์กในการแข่งขันฟุตบอลชายระดับนานาชาติ ถูกควบคุมโดยสมาคมฟุตบอลเดนมาร์ก (DBU) ปัจจุบันใช้สนามกีฬาพาร์เคิน ในโคเปนเฮเกนเป็นสนามเหย้า โดยมีแคสเปอร์ ยูลมันเป็นผู้จัดการทีม

เดนมาร์ก
Shirt badge/Association crest
ฉายาDe Rød-Hvide
(แดงและขาว)
Danish Dynamite
โคนม (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมสมาคมฟุตบอลเดนมาร์ก (DBU)
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนคัสเปอร์ ยูลมัน
กัปตันซีโมน แคร์
ติดทีมชาติสูงสุดซีโมน แคร์ (130)
ทำประตูสูงสุดPoul "Tist" Nielsen
Jon Dahl Tomasson
(52)
สนามเหย้าสนามกีฬาพาร์เกิน
รหัสฟีฟ่าDEN
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 21 Steady (4 เมษายน 2024)[1]
อันดับสูงสุด3 (พฤษภาคม ค.ศ. 1997, สิงหาคม ค.ศ. 1997)
อันดับต่ำสุด51 (เมษายน ค.ศ. 2017)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 9–0 ฝรั่งเศส เบ
(ลอนดอน ประเทศอังกฤษ; 19 ตุลาคม ค.ศ. 1908)
ชนะสูงสุด
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 17–1 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส
(ลอนดอน ประเทศอังกฤษ; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1908)
แพ้สูงสุด
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 8–0 เดนมาร์ก ธงชาติเดนมาร์ก
(เบร็สเลา ประเทศเยอรมนี; 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1937)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม6 (ครั้งแรกใน 1986)
ผลงานดีที่สุดรอบก่อนรองชนะเลิศ (1998)
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
เข้าร่วม9 (ครั้งแรกใน 1964)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1992)
คอนเมบอล–ยูฟ่าคัพออฟแชมเปียน
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 1993)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1993)
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 1995)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1995)

เดนมาร์กชนะเลิศกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกซ้อน 1906 และได้รับเหรียญเงินในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1908 และกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1912 อย่างไรก็ตาม ในฐานะมือสมัครเล่นที่ห้ามไม่ให้นักเตะทีมชาติของตนไปแล่นเป็นนักเตะอาชีพในสโมสรต่างประเทศ เดนมาร์กไม่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลกจนถึงปี ค.ศ. 1986 ถึงแม้ว่าพวกเขาจะได้รับรางวัลเงินโอลิมปิกอีกในปี ค.ศ. 1960

นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1983 เดนมาร์กได้สร้างผลงานที่แข็งแกร่งอย่างต่อเนื่อง พวกเขาชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1992 ที่ประเทศสวีเดน โดยเอาชนะทีมแชมป์เก่าอย่าง เนเธอร์แลนด์ ในรอบรองชนะเลิศ และแชมป์โลก เยอรมนีในรอบชิงชนะเลิศ ทีมยังชนะเลิศ คิงส์ฟาฮัดคัพ 1995 โดยเอาชนะอาร์เจนตินาในรอบชิงชนะเลิศ ผลงานฟุตบอลโลกที่ดีที่สุดของพวกเขาคือความสำเร็จในปี 1998 ซึ่งพวกเขาแพ้บราซิลอย่างหวุดหวิด 3–2 ในรอบก่อนรองชนะเลิศ เดนมาร์กยังสามารถเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้ายในฟุตบอลโลกได้ในปี 1986, 2002 และ 2018

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

รายชื่อผู้เล่น 26 คนที่ถูกเรียกตัวในการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2022[2]

ข้อมูลการลงเล่นและการทำประตูนับถึงวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 หลังจากการพบกับ  ตูนิเซีย

0#0ตำแหน่งผู้เล่นวันเกิด (อายุ)ลงเล่นประตูสโมสร
11GKแคสเปอร์ สไมเกิล (รองกัปตันทีม) (1986-11-05) 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1986 (37 ปี)870 นิส
161GKออลิเวอร์ เครสเตินเซิน (1999-03-22) 22 มีนาคม ค.ศ. 1999 (25 ปี)10 แฮร์ทา เบเอ็สเซ
221GKเฟรดเรก เรอนอว์ (1992-08-04) 4 สิงหาคม ค.ศ. 1992 (31 ปี)80 อูนีโอนแบร์ลีน

22DFโยแอคิม อาเนอร์เซิน (1996-05-31) 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1996 (27 ปี)200 คริสตัลพาเลซ
32DFวิคเตอร์ เนลส์สัน (1998-10-14) 14 ตุลาคม ค.ศ. 1998 (25 ปี)70 กาลาทาซาไร
42DFซีโมน แคร์ (กัปตันทีม) (1989-03-26) 26 มีนาคม ค.ศ. 1989 (35 ปี)1225 เอซี มิลาน
52DFโยแอคิม เมเลอ (1997-05-20) 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 (26 ปี)329 อาตาลันตา
62DFแอนเตรแอส เครสเตินเซิน (1996-04-10) 10 เมษายน ค.ศ. 1996 (28 ปี)592 บาร์เซโลนา
132DFราสมุส คริสเตนเซ่น (1997-07-11) 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1997 (26 ปี)110 ลีดส์ยูไนเต็ด
172DFเยนส์ สตรือเออร์ ลาร์เซิน (1991-02-21) 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 (33 ปี)493 ทรับซอนสปอร์
182DFเตเนียล แวส (1989-05-31) 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1989 (34 ปี)441 บรอนด์บี้
262DFแอเลกแซนเตอร์ แป (1997-12-09) 9 ธันวาคม ค.ศ. 1997 (26 ปี)41 ไบฟีกา

73MFแมทีแอส เยนเซิน (1996-01-01) 1 มกราคม ค.ศ. 1996 (28 ปี)211 เบรนต์ฟอร์ด
83MFทอมัส ดิเลนีย์ (1991-09-03) 3 กันยายน ค.ศ. 1991 (32 ปี)727 เซบิยา
103MFเครสแจน อีเรกเซิน (1992-02-14) 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 (32 ปี)11839 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
153MFเครสแจน เนอร์กอร์ (1994-04-10) 10 เมษายน ค.ศ. 1994 (30 ปี)171 เบรนต์ฟอร์ด
233MFพีแยร์-เอมิล ฮอยปีแยร์ (1995-08-05) 5 สิงหาคม ค.ศ. 1995 (28 ปี)615 ทอตนัมฮอตสเปอร์
243MFโรปอร์ต สกอว์ (1996-05-20) 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1996 (27 ปี)115 1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์
253MFเยสเปอร์ ลินสเตริม (2000-02-29) 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000 (24 ปี)71 ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท

94FWมาร์ติน แบรทเวต (1991-06-05) 5 มิถุนายน ค.ศ. 1991 (32 ปี)6210 อัสปัญญ็อล
114FWแอนเตรแอส สกอว์ โอลเซิน (1999-12-29) 29 ธันวาคม ค.ศ. 1999 (24 ปี)248 กลึบบรึคเคอ
124FWแคสเปอร์ ตอลแปร์ (1997-10-06) 6 ตุลาคม ค.ศ. 1997 (26 ปี)3811 เซบิยา
144FWมีเกิล ตัมส์กอร์ (2000-07-03) 3 กรกฎาคม ค.ศ. 2000 (23 ปี)194 เบรนต์ฟอร์ด
194FWโยนัส วิน (1999-02-07) 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999 (25 ปี)155 ว็อลฟส์บวร์ค
204FWยูซุฟ พออุลเซิน (1994-06-15) 15 มิถุนายน ค.ศ. 1994 (29 ปี)6811 แอร์เบ ไลพ์ซิช
214FWแอนเตรแอส คอร์เนลียุส (1993-03-16) 16 มีนาคม ค.ศ. 1993 (31 ปี)429 โคเปนเฮเกน

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง