อัสตานา

อัสตานา (คาซัค: Астана / Astana) ซึ่งมีชื่อเดิมว่า อักโมลินสก์ (Ақмолинск / Aqmolinsk), เซลีโนกราด (Целиноград / Tselinograd), อักโมลา (Ақмола / Aqmola) และ นูร์-ซุลตัน (Нұр-Сұлтан / Nūr-Sūltan) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศคาซัคสถาน มีประชากร 577,300 คน ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ จัดเป็นเมืองเขตการปกครองพิเศษ มีพื้นที่อยู่ในแคว้นอักโมลา ตั้งอยู่ริมแม่น้ำอีชิม มีสูงเหนือน้ำทะเล 347 เมตร (1,138 ฟุต) มีสถานที่ที่เป็นจุดสังเกตคือ หอคอยแบย์เตียเรียก

อัสตานา
เมือง
นครอัสตานา
แบย์เตียเรียก
ธงของอัสตานา
ธง
ตราราชการของอัสตานา
ตราอาร์ม
อัสตานาตั้งอยู่ในคาซัคสถาน
อัสตานา
อัสตานา
ที่ตั้งกรุงอัสตานาในประเทศคาซัคสถาน
พิกัด: 51°10′0″N 71°26′0″E / 51.16667°N 71.43333°E / 51.16667; 71.43333
ประเทศ คาซัคสถาน
แคว้นอักโมลา
ก่อตั้งขึ้นเมื่อค.ศ. 1830 เป็น อักโมลี
เปลี่ยนชื่อค.ศ. 1832 เป็น อักโมลินสก์
เปลี่ยนชื่อค.ศ. 1961 เป็น เซลีโนกราด
เปลี่ยนชื่อค.ศ. 1992 เป็น อักโมลา
เปลี่ยนชื่อค.ศ. 1998 เป็น อัสตานา
เปลี่ยนชื่อค.ศ. 2019 เป็น นูร์-ซุลตัน
เปลี่ยนชื่อค.ศ. 2022 กลับมาเป็น อัสตานา[1]
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีอิมังกาลี ตัสมากัมเบตอฟ
พื้นที่
 • ทั้งหมด722 ตร.กม. (279 ตร.ไมล์)
ความสูง347 เมตร (1,138 ฟุต)
ประชากร
 (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2013)[2]
 • ทั้งหมด780,880 คน
 • ความหนาแน่น958 คน/ตร.กม. (2,480 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+6 (BTT)
Postal code010000–010015
รหัสพื้นที่+7 7172[3]
ISO 3166-2AST
ป้ายทะเบียนรถ01, Z
เว็บไซต์www.astana.kz

ภูมิศาสตร์

ภาพถ่ายทางดาวเทียมของอัสตานา

ภูมิอากาศ

อัสตานาเป็นเมืองหลวงที่หนาวที่สุดในโลกเป็นอันดับสองรองจากอูลานบาตาร์ เมืองหลวงของประเทศมองโกเลีย

ข้อมูลภูมิอากาศของอัสตานา
เดือนม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย.ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F)3.4
(38.1)
4.8
(40.6)
22.1
(71.8)
29.7
(85.5)
35.7
(96.3)
40.1
(104.2)
41.6
(106.9)
38.7
(101.7)
36.2
(97.2)
26.7
(80.1)
18.5
(65.3)
4.5
(40.1)
41.6
(106.9)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F)-9.9
(14.2)
-9.2
(15.4)
-2.5
(27.5)
10.9
(51.6)
20.2
(68.4)
25.8
(78.4)
26.8
(80.2)
25.2
(77.4)
18.8
(65.8)
10.0
(50)
-1.4
(29.5)
-8.0
(17.6)
8.9
(48)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F)-14.2
(6.4)
-14.1
(6.6)
-7.1
(19.2)
5.2
(41.4)
13.9
(57)
19.5
(67.1)
20.8
(69.4)
18.8
(65.8)
12.3
(54.1)
4.6
(40.3)
-5.4
(22.3)
-12.1
(10.2)
3.5
(38.3)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F)-18.3
(-0.9)
-18.5
(-1.3)
-11.5
(11.3)
0.2
(32.4)
7.9
(46.2)
13.2
(55.8)
15.0
(59)
12.8
(55)
6.6
(43.9)
0.2
(32.4)
-8.9
(16)
-16.1
(3)
−1.5
(29.3)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F)-51.6
(-60.9)
-48.9
(-56)
-38.0
(-36.4)
-27.7
(-17.9)
-10.8
(12.6)
-1.5
(29.3)
2.3
(36.1)
-2.2
(28)
-8.2
(17.2)
-25.3
(-13.5)
-39.2
(-38.6)
-43.5
(-46.3)
−51.6
(−60.9)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว)16
(0.63)
15
(0.59)
18
(0.71)
20
(0.79)
35
(1.38)
37
(1.46)
50
(1.97)
29
(1.14)
22
(0.87)
27
(1.06)
27
(1.06)
22
(0.87)
318
(12.52)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm)5.34.33.24.76.36.16.65.64.47.36.05.365.1
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด102.3146.9192.2237.0300.7336.0334.8294.5231.0136.499.093.02,503.8
แหล่งที่มา 1: Pogoda.ru.net[4]
แหล่งที่มา 2: Hong Kong Observatory (sun and precipitation days)[5]

ประชากร

อัสตานามีความหนาแน่นประชากร 958 คน/ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 705,897 คน[6][7] มีชาวคาซัค รัสเซีย ยูเครน ตาตาร์ และเยอรมัน 65.2%, 23.8%, 2.9%, 1.7%, 1.5% ตามลำดับ มีชนกลุ่มน้อยประมาณ 4.9% (ข้อมูล ค.ศ. 2010)

ค.ศ. 1999 อัสตานามีประชากร 281,000 คน เป็นชาวคาซัค 30% ชนชาติอื่น 70%[8]

ค.ศ. 2007 อัสตานามีประชากรเพิ่มขึ้นเกินมากกว่า 600,000 คน และในอนาคต จะมีประชากรครบ 1 ล้านคนใน ค.ศ. 2030

เศรษฐกิจ

การเมืองและรัฐบาลเป็นหลักเศรษฐกิจที่สำคัญของเมือง ซึ่งใช้รูปแบบเศรษฐกิจแบบพิเศษ ตั้งแต่การย้ายเมืองหลวง อัสตานาก็กลายเป็นหนึ่งในเมืองที่มีโครงการก่อสร้างดีที่สุด

สถานที่สำคัญ

การวางแผนเมือง

เขตอัลมาเตอ

เขตนี้ถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 โดยรัฐกฤษฎีกาของประธานาธิบดีคาซัคสถาน เขตอัลมาเตอมีพื้นที่ 21,054 เฮกตาร์ (52 025 เอเคอร์ หรือ 81.290 ตารางไมล์) ประชากร 321,400 คน ทั้งหมด 5 หมู่บ้าน

เขตเยซิล

จัดตั้งขึ้นเมื่อ 5 สิงหาคม ค.ศ. 2008 โดยพระราชกฤษฎีกาของประธานาธิบดีคาซัคสถาน พื้นที่ 31,179 เฮกตาร์ (77 045 เอเคอร์ หรือ 120.382 ตารางไมล์) ประชากร 180,000 คน

เขตซายาร์กา

จัดตั้งขึ้นเมื่อ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 โดยพระราชกฤษฎีกาของประธานาธิบดีคาซัคสถาน พื้นที่ 19,202 เฮกตาร์ (47 449 เอเคอร์ หรือ 74.139 ตารางไมล์) ประชากร 296,364 คน

สถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรมส่วนใหญ่ซึ่งได้รับอิทธิพลจากสหภาพโซเวียตนั้น ถูกแทนที่ด้วยสิ่งก่อสร้างสมัยใหม่ไปทั่วเมือง ซึ่งประธานาธิบดีนาซาร์บายิฟก็ให้ความสนใจกับสิ่งนี้มากเป็นพิเศษ

สิ่งก่อสร้างสมัยใหม่ในอัสตานา ตรงกลางคืออาโกร์ดา

ถนนสีเขียว

ถนนสีเขียว ("the shining Path") เป็นถนนคนเดินทีสำคัญที่สุดในคาซัคสถาน

สิ่งก่อสร้างใหม่

  • ท่าน้ำอิชิม
  • โอเชียนเนเรียม
  • มัสยิดกลางอัสตานา
  • อิสลามมิก เซ็นเตอร์
  • โบสถ์โรมันคาทอลิก
  • ตลาดกลางอัสตานา

พิพิธภัณฑ์

  • ศูนย์วัฒนธรรมประธานาธิบดี
  • หลุมฝังศพคาบานเบย์ แบเดอร์
  • อะตามีเคน เอทนิค เมมโมเรียล คอมเพล็กซ์
  • พิพิธภัณฑ์เซคัน ซีฟัลลิน
  • พิพิธภัณฑ์ประธานาธิบดีคนแรกของคาซัคสถาน

โรงละคร

  • โรงละครแม็กซึม กอร์กี
  • โรงละครคาเลบาก คูแอเนแชฟ
  • โรงละครอุปรากรและบัลเลต์
  • เดอะไทเลป โคเบซ เซเรยิ

อนุสาวรีย์

  • อนุสาวรีย์โอทาน คอร์กาชูลาร์
  • อนุสาวรีย์การปราบปรามการเมือง
  • อนุสาวรีย์ทหารชาวคาซัคสถาน
  • อนุสาวรีย์เซ็นทรัล สแควร์
  • อนุสาวรีย์เคเนสแซรี่ คาน

สถาปัตยกรรมอนุสรณ์สถาน

กีฬา

อัสตานาเป็นเมืองเจ้าภาพของกีฬาเอเชียนเกมส์ฤดูหนาว 2011

สโมสรกีฬาก่อตั้งลีกสถานที่
สโมสรฟุตบอลอัสตานาฟุตบอล2009คาซัคสถานพรีเมียร์ลีกอัสตานาอารีนา
สโมสรฟุตบอลอัสตานา (1964)ฟุตบอล1964คาซัคสถานเฟิสต์ดิวิชันสนามกีฬาคาชิมูคาน มูไนพาสบ
สโมสรฟุตบอลบีเทอเรกฟุตบอล2012คาซัคสถานเฟิสต์ดิวิชันอัสตานาอารีนา
สโมสรจักรยานอัสตานาแข่งจักรยาน2007ยูวีไอ โปรทัวร์รีพับบลิกกัน ไซกลิง แทรก
สโมสรบาสเกตบอลอัสตานาบาสเกตบอล2000วีทีบี ยูไนเต็ด ลีกรีพับบลิกกัน ไซกลิง แทรก
สโมสรฮอกกี้น้ำแข็งแบรีส อัสตานาฮอกกี้น้ำแข็ง1999คอนทินันทัล ฮอกกี้ ลรกคาซัคสถาน สปอร์ต แพแลค

การคมนาคม

อากาศยานท่าอากาศยานหลักคือ ท่าอากาศยานนานาชาตินูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ และสายการบินหลักคือ แอร์ อัสตานา

ขนส่งมวลชนรถไฟฟ้าใต้ดินนูร์-ซุลตัน อยู่ระหว่างการก่อสร้าง

รถไฟทางไกลสถานีรถไฟหลักคือ สถานีรถไฟนูร์-ซุลตัน-1 เชื่อมระหว่างเมืองสำคัญ เช่น อัสตานา–อัลมาเตอ นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อกับต่างประเทศ เช่น รัสเซีย ยูเครน คีร์กีซสถาน อุซเบกิสถาน และจีน (อุรุมชี)

บุคคลที่มีชื่อเสียง

เมืองพี่น้อง

อ้างอิง

51°10′0″N 71°26′0″E / 51.16667°N 71.43333°E / 51.16667; 71.43333

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง