เรือหลวงนเรศวร

เรือฟริเกตของกองทัพเรือไทย

เรือหลวงนเรศวร (FFG-421) (อังกฤษ: HTMS Naresuan) เป็นเรือฟริเกตสังกัดกองเรือฟริเกตที่ 2 กองเรือยุทธการ กองทัพเรือไทย[2] ดัดแปลงมาจากเรือฟริเกตแบบ 053 ของจีน โดยความร่วมมือกันออกแบบระหว่างกองทัพเรือไทยกับจีน ต่อที่อู่ต่อเรือไชน่าสเตตท์ เมืองเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ปล่อยเรือลงน้ำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2536 และเข้าประจำการในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2537 เรือหลวงนเรศวร มีเรือในชั้นเดียวกันอีกหนึ่งลำคือ เรือหลวงตากสิน

เรือหลวงนเรศวร (FFG-421)
ประวัติ
ประเทศไทย
ชนิดเรือฟริเกตชุดเรือหลวงนเรศวร (เรือฟริเกตแบบ 053)
ชื่อเรือหลวง นเรศวร
ตั้งชื่อตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
อู่เรือบริษัทต่อเรือแห่งรัฐของจีน เซี่ยงไฮ้
ปล่อยเรือพ.ศ. 2534
เดินเรือแรก15 ธันวาคม พ.ศ. 2537
เข้าประจำการพ.ศ. 2538
ท่าจอดฐานทัพเรือสัตหีบ
รหัสระบุ
คำขวัญองอาจ กล้าหาญ สู้เพื่อชาติ
สถานะอยู่ในประจำการ
ลักษณะเฉพาะ
ขนาด (ระวางขับน้ำ):2,985 ตัน
ความยาว:120.5 ม.
ความกว้าง:13.7 ม.
กินน้ำลึก:4.3 ม.
กินน้ำลึก:3.8 ม.
ระบบพลังงาน:1 × เจเนอรัลอีเลคทริค LM2500+ แก็สเทอร์ไบน์ และ 2 × เครื่องยนต์ดีเซล เอ็มทียู 20V1163 TB83
ระบบขับเคลื่อน:2 × ใบจักรแบบปรับมุมได้
ความเร็ว:32 นอต (59 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) สูงสุด
พิสัยเชื้อเพลิง:4000 ไมล์ทะเล (7408 กิโลเมตร) ที่ 18 นอต
อัตราเต็มที่:150
ระบบตรวจการและปฏิบัติการ:

1 x ระบบอำนวยการรบ แบบ Saab 9LV Mk.4
1 x เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ แบบ Saab Sea Giraffe AMD 3D
2x เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง แบบ Saab CEROS 200 with CWI
1 x เรดาร์ค้นหาระยะไกล Thales LW08
1 x เรดาร์ควบคุมการยิง Thales STIR
1 x ระบบพิสูจน์ฝ่าย แบบ Selex SIT422 interogator และ Selex M425 transponder
1 x ระบบรวมการสื่อสาร แบบ Saab TactiCall ICS
1 x ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี แบบ Saab Link-E/G (TIDLS)
1 x ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี แบบ AviaSatcom Link-RTN
1 x ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี แบบ Link-11 (TADIL-A)
1 x ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับเรือ (AIS)
1 x ระบบอุตุนิยมวิทยา
1 x ศูนย์เล็งกำหนดเป้าหมาย แบบ Saab Bridge Pointers TDS


1 x ระบบ radar ESM แบบ ITT ES-3601 (AN/SLQ-4) 1 xระบบ communication ESM 1 xระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย แบบ Raytheon Anschutz MINS 2 (ring laser gyro)
ระบบวิทยุสื่อสาร
ระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) โซนาร์หัวเรือ Atlas Elektronic DSQS-24
สงครามอิเล็กทรอนิกส์และเป้าลวง:2x แท่นยิงเป้าลวง แบบ Terma DL-12T แท่นละ 12 ท่อยิง
4x แท่นยิงเป้าลวง แบบ Terma Mk.137 แท่นละ 6 ท่อยิง
ยุทโธปกรณ์:1 x 5 นิ้ว/54 (127 มม.) 5"/62 Mark 45 Mod 4
2 x ปืนใหญ่กล MSI-DSL/ATK DS-30MR/Mk.44 ขนาด 30 มม. แท่นเดี่ยว
8 x ท่อยิง Mark 41 Vertical Launching System สำหรับ 32 x อาร์ไอเอ็ม-162 อีเอสเอสเอ็ม
8 x เอจีเอ็ม-84 ฮาร์พูน
2 x Mark 32 Surface Vessel Torpedo Tubes
อากาศยาน:1 x เวสต์แลนด์ลิงซ์

การปรับปรุง

ในปี ค.ศ. 2011 กองทัพเรือได้เลือกระบบ 9LV ของบริษัทซ๊าบ ประเทศสวีเดน ในการปรับปรุงระบบอำนวยการรบ ระบบตรวจการณ์ ระบบควบคุมการยิง และระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธีของ เรือหลวงนเรศวร และ เรือหลวงตากสิน[3][4]

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง