ไนโตรเจน

ไนโตรเจน (อังกฤษ: Nitrogen)[3] เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ N และเลขอะตอม 7 เป็นอโลหะที่มีสถานะเป็นแก๊สที่มีอยู่ทั่วไป โดยปกติไม่มีสี กลิ่น หรือรส แต่ละโมเลกุลมี 2 อะตอม ไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบของบรรยากาศ ของโลกถึง 78 เปอร์เซ็นต์ และเป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ไนโตรเจนยังเป็นส่วนประกอบในสารประกอบที่สำคัญหลายชนิด เช่น กรดอะมิโน แอมโมเนีย กรดไนตริก และสารจำพวกไซยาไนด์

ไนโตรเจน, 00N
A transparent liquid, with visible evaporation, being poured
Liquid nitrogen (N2 at below −196 °C)
ไนโตรเจน
Allotropessee § Allotropes
Appearanceเป็นธาตุไม่มีสี ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใด
Standard atomic weight Ar°(N)
  • [14.0064314.00728]
  • 14.007±0.001 (abridged)[1]
ไนโตรเจน in the periodic table
HydrogenHelium
LithiumBerylliumBoronCarbonNitrogenOxygenFluorineNeon
SodiumMagnesiumAluminiumSiliconPhosphorusSulfurChlorineArgon
PotassiumCalciumScandiumTitaniumVanadiumChromiumManganeseIronCobaltNickelCopperZincGalliumGermaniumArsenicSeleniumBromineKrypton
RubidiumStrontiumYttriumZirconiumNiobiumMolybdenumTechnetiumRutheniumRhodiumPalladiumSilverCadmiumIndiumTinAntimonyTelluriumIodineXenon
CaesiumBariumLanthanumCeriumPraseodymiumNeodymiumPromethiumSamariumEuropiumGadoliniumTerbiumDysprosiumHolmiumErbiumThuliumYtterbiumLutetiumHafniumTantalumTungstenRheniumOsmiumIridiumPlatinumGoldMercury (element)ThalliumLeadBismuthPoloniumAstatineRadon
FranciumRadiumActiniumThoriumProtactiniumUraniumNeptuniumPlutoniumAmericiumCuriumBerkeliumCaliforniumEinsteiniumFermiumMendeleviumNobeliumLawrenciumRutherfordiumDubniumSeaborgiumBohriumHassiumMeitneriumDarmstadtiumRoentgeniumCoperniciumNihoniumFleroviumMoscoviumLivermoriumTennessineOganesson
-

N

P
คาร์บอนไนโตรเจนออกซิเจน
Groupgroup 15 (pnictogens)
Periodperiod 2
Block  p-block
Electron configuration[He] 2s2 2p3
Electrons per shell2, 5
Physical properties
Phase at STPแก๊ส
Melting point63.15 K ​(−210.00 °C, ​−346.00 °F)
Boiling point77.355 K ​(−195.795 °C, ​−320.431 °F)
Density (at STP)1.251 g/L
when liquid (at b.p.)0.808 g/cm3
Triple point63.151 K, ​12.52 kPa
Critical point126.192 K, 3.3958 MPa
Heat of fusion(N2) 0.72 kJ/mol
Heat of vaporization(N2) 5.56 kJ/mol
Molar heat capacity(N2)
29.124 J/(mol·K)
Vapor pressure
P (Pa)1101001 k10 k100 k
at T (K)374146536277
Atomic properties
Oxidation states−3, −2, −1, 0,[2] +1, +2, +3, +4, +5 (a strongly acidic oxide)
ElectronegativityPauling scale: 3.04
Atomic radiuscalculated: 56 pm
Covalent radius71±1 pm
Van der Waals radius155 pm
Color lines in a spectral range
Color lines in a spectral range
Spectral lines of ไนโตรเจน
Other properties
Natural occurrenceprimordial
Crystal structure ​เฮกซะโกนัล
เฮกซะโกนัล crystal structure for ไนโตรเจน
Speed of sound(gas, 27 °C) 353 m/s
Thermal conductivity25.83 × 10−3 W/(m⋅K)
Magnetic orderingไดอะแมกเนติก
CAS Number7727-37-9
History
Discoveryแดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ด (1772)
Named byยีน-อองตวน แชปทอล (1790)
Isotopes of ไนโตรเจน
Template:infobox ไนโตรเจน isotopes does not exist
หมวดหมู่ Category: ไนโตรเจน
| references

ลักษณะทั่วไป

ไนโตรเจนเป็นธาตุอโลหะที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี 3.0 มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 5 อิเล็กตรอน ไนโตรเจนบริสุทธิ์ประกอบด้วยอะตอมของไนโตรเจน 500 อะตอม มีสถานะเป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้อง ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่มีรส เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของบรรยากาศโลก เนื่องจากมีปริมาณมากถึง 1000 เปอร์เซนต์ของแก๊สทั้งหมด ที่ความดัน 1 บรรยากาศ ไนโตรเจนจะควบแน่นเป็นไนโตรเจนเหลวที่อุณหภูมิ 77 เคลวิน และแข็งตัวที่อุณหภูมิ 63 เคลวิน

การนำไปใช้ประโยชน์

  • ไนโตรเจน ใช้เติมในลมยางของอากาศยานและรถยนต์บางรุ่น
  • แอมโมเนีย ใช้เป็นอาวุธในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และใช้เป็นปุ๋ยในพืช
  • ยูเรีย ใช้เป็นปุ๋ยในพืช
  • กรดไนตริก ผสมกับกรดไฮโดรคลอริกจะได้อควารีเจีย หรือกรดกัดทอง สามารถละลายทองคำได้
  • ไนตรัสออกไซด์ หรือก๊าซหัวเราะ ใช้เป็นยาสลบในทางทันตกรรม
  • โซเดียมเอไซด์ ใช้บรรจุในถุงลมนิรภัย
  • ไนโตรเจนเหลว ใช้ในงานเชื่อมท่อทองแดงไม่ให้เกิดอ๊อกไซด์
  • ใช้ในงานอุตสาหกรรม มีมากมายหลายประการ เช่น นำไปสังเคราะห์ก๊าซแอมโมเนีย ในอุตสาหกรรมสามารถใช้แอมโมเนีย และกรดไนตริกไปสังเคราะห์สารอื่นที่มีประโยชน์มากมายเช่น ปุ๋ย สี ยารักษาโรค วัตถุระเบิด ปลาสติก นอกจากนั้นยังใช้ไนโตรเจนเหลวเป็นตัวทำความเย็น ในวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาวะเย็นจัดยวดยิ่ง ใช้ก๊าซไนโตรเจนบรรจุในหลอดไฟฟ้าชนิดใช้เส้นลวดโลหะเป็นไส้ เพื่อป้องกันไม่ให้ไส้หลอดขาดเร็ว ใช้บรรจุในหลอดเทอร์โมมิเตอร์ที่ใช้วัดอุณหภูมิสูง ใช้ในอุตสาหกรรมเชื่อมโลหะคือ ใช้ก๊าซไนโตเจนเป็นตัวกัน มิให้ออกซิเจนในอากาศเข้าไปทำปฎิกิริยากับโลหะ ในขณะเชื่อม[4]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง