กรดไฮโดรคลอริก

กรดไฮโดรคลอริก(อังกฤษ: hydrochloric acid), กรดเกลือ หรือ กรดมูเรียติก (muriatic acid) เป็นสารประกอบเคมีประเภทกรดละลายในน้ำ โดยเป็นสารละลายของไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) เป็นกรดแก่, เป็นส่วนประกอบหลักของกรดกระเพาะ (gastric acid) และใช้กันอย่างกว้างในอุตสาหกรรมเป็นของเหลวที่มีพลังการกัดกร่อนสูง

กรดไฮโดรคลอริก
Structure of Hydrochloric acid as dissociated chloride and hydronium ions
3D model of hydrogen chloride
3D model of hydrogen chloride
3D model of water
3D model of water
3D model of the chloride anion
3D model of the chloride anion
3D model of the hydronium cation
3D model of the hydronium cation
ชื่อ
IUPAC name
Chlorane[3]
ชื่ออื่น
  • Muriatic acid[1]
  • Spirits of salt[2]
    Hydronium chloride
    Chlorhydric Acid
เลขทะเบียน
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard100.210.665 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 231-595-7
เลขอีE507 (acidity regulators, ...)
UNII
UN number1789
คุณสมบัติ
HCl(aq)
ลักษณะทางกายภาพไร้สี, ของเหลวใส, ควันในอากาศหากเข้มข้น
กลิ่นลักษณะฉุน
จุดหลอมเหลวConcentration-dependent – see table
จุดเดือดConcentration-dependent – see table
log P0.00[4]
pKa−5.9 (HCl gas)[5]
เภสัชวิทยา
A09AB03 (WHO) B05XA13
ความอันตราย
GHS labelling:
Pictograms
The exclamation-mark pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)The corrosion pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
Signal word
อันตราย[6]
Hazard statements
H290, H314, H335[6]
Precautionary statements
P260, P280, P303+P361+P353, P305+P351+P338[6]
NFPA 704 (fire diamond)
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
ไฮโดรเจนคลอไรด์โอเวน

ประวัติ

ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 10 (ป. ค.ศ. 865–925) แอบู แบกร์ แอล-รอซี แพทย์และนักเล่นแร่แปรธาตุชาวเปอร์เซีย ทำการทดลองด้วยsal ammoniac (แอมโมเนียมคลอไรด์) กับกรดกำมะถัน (โลหะหลายชนิดที่ใช้ซัลเฟตผสมกับน้ำ) ซึ่งเขานำทั้งสองกลั่นเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์[7] ในการทำวิธีนี้ แอล-รอซีอาจพบกับวิธีดั้งเดิมในการผลิตกรดไฮโดรคลอริกโดยบังเอิญ[8]

อย่างไรก็ตาม เห็นได้ชัดว่าในการทดลองส่วนใหญ่ของเขา แอล-รอซีไม่สนใจผลิตภัณฑ์ที่เป็นแก๊ส โดยมุ่งความสนใจไปที่การเปลี่ยนแปลงของสีที่อาจมีผลกับสารตกค้าง[9] Robert P. Multhauf รายงานว่า ไฮโดรเจนคลอไรด์ได้รับการผลิตขึ้นหลายครั้ง โดยไม่ทราบแน่ชัดว่าอาจผลิตโดยการละลายในน้ำอาจก่อให้เกิดกรดไฮโดรคลอริกได้[10]

ช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) ถูกใช้อย่างกว้างขวางในการผลิตสารประกอบอินทรีย์ เช่น ไวนิลคลอไรด์ สำหรับผลิต PVC พลาสติก และ MDI/TDI (Toluene Diisocyanate) สำหรับผลิต โพลียูรีเทน, (polyurethane) และใช้ในการผลิตขนาดเล็กเช่น การผลิต เจลาติน (gelatin) ใช้ปรุงอาหาร, และ ใช้ฟอกหนัง กำลังผลิตในปัจจุบันประมาณ 20 ล้านเมตริกตัน ต่อปี (20 Mt/a) ของก๊าซ HCl

การผลิต

ใน การผลิต กรดไฮโดรคลอริกปริมาณมากๆ จะเกี่ยวข้องกับการผลิตสารประกอบเคมีตัวอื่นๆในเชิงอุตสาหกรรมด้วยในอุตสาหกรรม คลอร์-อัลคะไล สารละลายเกลือจะถูกอิเล็กโตรไลซ์ จนได้ผลผลิตออกมาเป็นคลอรีน, โซเดียมไฮดรอกไซด์, และก๊าซไฮโดรเจน คลอรีนบริสุทธิ์ จะมาผสมกับก๊าซไฮโดรเจนแล้วเกิดเป็นก๊าซ HCl บริสุทธิ์ และปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ เอ็กโซเทอร์มิก

Cl2 + H2 → 2 HCl

ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์บริสุทธิ์ถูกดูด (absorption) ลงน้ำ ดีมิเนอไลซ์ได้เป็นกรดเกลือบริสุทธิ์ต่อไป

สารประกอบเคมีที่เกี่ยวข้อง

  • คลอไรด์ เกลืออนินทรีย์ของกรดไฮโดรคลอริก
  • ไฮโดรคลอไรด์ เกลืออินทรีย์ของกรดไฮโดรคอลริก
  • ไฮโดรเจนคลอไรด์ แก๊สบริสุทธิ์ หากเป็นสารละลาย เรียก กรดไฮโดรคลอริก
  • กรดไฮโปคลอรัส และเกลือ ไฮโปคลอไรต์
  • กรดคลอรัส และเกลือ คลอไรต์
  • กรดคลอริก และเกลือ คลอเรต
  • กรดเปอร์คลอริก และเกลือ เปอร์คลอเรต

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Multhauf, Robert P. (1966). The Origins of Chemistry. London: Oldbourne. OCLC 977570829.
  • Ruska, Julius (1937). Al-Rāzī's Buch Geheimnis der Geheimnisse. Mit Einleitung und Erläuterungen in deutscher Übersetzung. Quellen und Studien zur Geschichte der Naturwissenschaften und der Medizin. Vol. VI. Berlin: Springer.

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลความปลอดภัยทั่วไป
ข้อมูลมลพิษ


🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง