การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ เป็นเหตุการณ์ที่สหภาพโซเวียตและพันธมิตรหลักของสหภาพโซเวียตตามกติกาสัญญาวอร์ซอรุกรานเชโกสโลวาเกียเพื่อยับยั้งการปฏิรูปทางการเมืองของอเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ในช่วงปรากสปริง

ฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอรุกรานเชโกสโลวาเกีย
ส่วนหนึ่งของ ปรากสปริงและสงครามเย็น

ประชาชนชาวเชโกสโลวาเกียกำลังถือธงชาติเชโกสโลวาเกียผ่านรถถังโซเวียตที่ไฟไหม้ในกรุงปราก
วันที่20 สิงหาคม – 20 กันยายน ค.ศ. 1968
สถานที่
ผล
  • ชัยชนะของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ
  • พิธีสารมอสโก
  • อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ลาออกจากตำแหน่งเลขาธิการเอกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย
  • กุสตาว ฮูซาก ได้รับเลือกเป็นเลขาธิการเอกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย และเริ่มต้นสมัยสมัยปรับให้เป็นปกติ (Normalization)
  • กองทัพโซเวียตวางกำลังในเชกโกสโลวาเกียจนถึงปี ค.ศ. 1991
  • แอลเบเนียถอนตัวออกจากสมาชิกกติกาสัญญาวอร์ซอในเดือนกันยายน ค.ศ. 1968
คู่สงคราม
กติกาสัญญาวอร์ซอ
สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
บัลแกเรีย บัลแกเรีย
ฮังการี ฮังการี
โปแลนด์ โปแลนด์
เยอรมนีตะวันออก เยอรมนีตะวันออก[1]
เชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย
แอลเบเนีย
โรมาเนีย[2]
 ยูโกสลาเวีย[3]
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหภาพโซเวียต เลโอนิด เบรจเนฟ
สหภาพโซเวียต นีโคไล ปอดกอร์นืย
สหภาพโซเวียต อะเลคเซย์ โคซีกิน
สหภาพโซเวียต อันเดรย์ เกรชโค
สหภาพโซเวียต อีวาน ยาคูบอฟสกี
โปแลนด์ ววาดึสวัฟ กอมูว์กา
โปแลนด์ Florian Siwicki
ฮังการี ยาโนช กาดาร์
ฮังการี Lajos Czinege
บัลแกเรีย ตอดอร์ ซีฟกอฟ
การสนับสนุนทางการทูต:
เยอรมนีตะวันออก วัลเทอร์ อุลบริชท์
เชโกสโลวาเกีย อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค
เชโกสโลวาเกีย ลุดวิค สโวโบดา
เชโกสโลวาเกีย มาร์ติน ดิซัว
การสนับสนุนทางการทูต:
จีน เหมา เจ๋อตง
ยอซีป บรอซ ตีโต
เอ็นเวอร์ ฮอกซา
นีกอลาเอ ชาวูเชสกู
กำลัง
ทหาร 500,000 นาย (27 กองพล)
รถถัง 6,300 คัน
อากาศยาน 800 ลำ
และปืนใหญ่ 2,000 กระบอก

ทหาร 200,000-600,000 นาย (30 กองพล) ในช่วงสองถึงสามวันสามารถเรียกระดมพลได้ 2,500,000 นาย[โปรดขยายความ]
อากาศยานมากกว่า 250 ลำ

และรถถัง 2,500-3,000 คัน
ความสูญเสีย
สหภาพโซเวียต เสียชีวิต 96 นาย (จากอุบัติเหตุ 84 นาย) และบาดเจ็บ 87 นาย[4]
โปแลนด์ เสียชีวิต 10 นาย (จากอุบัติเหตุและฆ่าตัวตาย)[5]
ฮังการี เสียชีวิต 4 นาย (จากอุบัติเหตุ)
บัลแกเรีย เสียชีวิต 2 นาย
พลเรือนเสียชีวิต 108 คน และได้รับบาดเจ็บมากกว่า 500 คน

ในคืนวันที่ 20 - 21 สิงหาคม ค.ศ. 1968 สหภาพโซเวียตและพันธมิตรหลักในกติกาสัญญาวอร์ซออันได้แก่บัลแกเรีย ฮังการี เยอรมนีตะวันออก และโปแลนด์ รุกรานสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวาเกีย[6]ในปฏิบัติการดานูบด้วยกองกำลังทหาร 500,000 นาย[7] ทั้งนี้โรมาเนียและแอลเบเนียซึ่งเป็นรัฐสมาชิกของกติกาสัญญาวอร์ซอปฏิเสธที่จะมีส่วนร่วมในปฏิบัติการดังกล่าว ในขณะที่ฝ่ายเชโกสโลวาเกียมีผู้ได้รับบาดเจ็บ 500 คน และเสียชีวิต 108 คน[8][9]

การรุกรานครั้งนี้ประสบความสำเร็จในท้ายที่สุด ส่งผลให้การปฏิรูปและการเปิดเสรีในเชโกสโลวาเกียหยุดชะงักลง ทั้งยังช่วยเสริมสร้างอำนาจของฝ่ายซ้ายภายในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย (KSČ) ให้เข้มแข็งขึ้น

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง