จักรวรรดิรุสเคียฟ

50°27′N 30°31′E / 50.450°N 30.517°E / 50.450; 30.517

รุส

Роусь (สลาฟตะวันออกเก่า)
ค.ศ. 879–ค.ศ. 1240
แผนที่จักรวรรดิรุสเคียฟตอนปลาย (หลังการสวรรคตของยาโรสลาฟที่ 1 ใน ค.ศ. 1054)
แผนที่จักรวรรดิรุสเคียฟตอนปลาย (หลังการสวรรคตของยาโรสลาฟที่ 1 ใน ค.ศ. 1054)
เมืองหลวงนอฟโกรอด (879–882),
เคียฟ (882–1240)
ภาษาทั่วไปภาษาสลาฟตะวันออกเก่า, ภาษานอร์สเก่า (ในกลุ่มชาวไวกิง)
ศาสนา
  • ลัทธินอกศาสนาสลาฟ (ศาสนาดั้งเดิมของชาวสลาฟ)
  • ลัทธินอกศาสนาฟื้นฟู (ทางการจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10)
  • คริสต์ออร์ทอดอกซ์ (ทางการหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10)
  • ลัทธินอกศาสนานอร์ส (ท้องถิ่น)
  • ลัทธินอกศาสนาฟินน์ (ศาสนาพื้นเมืองของชาวฟินนิก)
เดมะนิมรุส
การปกครองราชาธิปไตย
แกรนด์พรินซ์แห่งเคียฟ 
• ค.ศ. 879–912 (องค์แรก)
โอเลกผู้ทำนาย
• ค.ศ. 1236–1240 (องค์สุดท้าย)
มีฮาอิลแห่งเชอร์นิกอฟ
สภานิติบัญญัติVeche, สภาเจ้าชาย
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
ค.ศ. 879
• การพิชิตรัฐข่านคาซาร์
ค.ศ. 965–969
• พิธีบัพติสมาแก่ชนรุส
ป. ค.ศ. 988
• รุสสกายาปราฟดา
ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 11
• การรุกรานรุสของมองโกล
ค.ศ. 1240
พื้นที่
1000[1]1,330,000 ตารางกิโลเมตร (510,000 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1000[1]
5,400,000
สกุลเงินกริฟนา
ก่อนหน้า
ถัดไป
รัฐข่านรุส
สลาฟนอฟโกรอด
Krivichs
Chud
ฟินน์วอลกา
Dregoviches
Radimichs
โปแลน (ตะวันออก)
Severians
Drevlians
Vyatichi
Volhynians
โครเอเชียขาว
Tivertsi
Ulichs
ราชรัฐเคียฟ
สาธารณรัฐโนฟโกรอด
ราชรัฐเชอร์นิกอฟ
ราชรัฐเปเรสลาฟล์
วลาดีมีร์-ซุซดัล
ราชรัฐวอลฮือเนีย
ราชรัฐฮาลึช
ราชรัฐโปลอตสค์
ราชรัฐสโมเลนสค์
ราชรัฐเรียซัน
จักรวรรดิมองโกล

จักรวรรดิรุสเคียฟ (เบลารุส: Кіеўская Русь; รัสเซีย: Ки́евская Русь; ยูเครน: Ки́ївська Русь; จากสลาฟตะวันออกเก่า: Роусь, อักษรโรมัน: Rusĭ หรือ роусьскаѧ землѧ, ถอดเป็นอักษรโรมัน: rusĭskaę zemlę) เป็นจักรวรรดิในยุคกลางที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 879 จนถึง ค.ศ. 1240 ที่ก่อตั้งขึ้นโดยพ่อค้าสแกนดิเนเวีย (วารังเจียน) ที่เรียกว่า "ชนรุส" โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เคียฟ (ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของยูเครน) รัฐรุสถือว่าเป็นต้นตอของชาติพันธุ์สลาฟตะวันออกในปัจจุบันสามชาติพันธุ์ ได้แก่ ชาวเบลารุส, รัสเซีย และยูเครน[2] รัชสมัยของวลาดีมีร์มหาราช (ค.ศ. 980–1015) และพระราชโอรสยาโรสลาฟที่ 1 เดอะไวส์ (ค.ศ. 1019–1054) ถือกันว่าเป็นยุคทองของเคียฟ สมัยนี้เป็นสมัยที่จักรวรรดิรุสเคียฟยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา และมีการรวบรวมประมวลกฎหมายที่เขียนเป็นภาษาสลาฟตะวันออกที่เรียกว่า "ประมวลกฎหมายรุสสคายา" (Russkaya Pravda)

ผู้นำสมัยแรกของจักรวรรดิรุสเคียฟสันนิษฐานกันว่าสืบเชื้อสายมาจากชนชั้นผู้นำสแกนดิเนเวียที่ปกครองข้าแผ่นดินที่เป็นชนสลาฟ[3] และมีอำนาจต่อมาจนกระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 11[4]

อ้างอิง

ข้อมูลทั่วไป

  • Magocsi, Paul R. (2010). A History of Ukraine: The Land and Its Peoples. Toronto: University of Toronto Press. ISBN 978-1442610217.
  •  บทความนี้รวมเอางานสาธารณสมบัติจากประเทศศึกษา หอสมุดรัฐสภา – Russia

อ่านเพิ่ม

  • Christian, David. A History of Russia, Mongolia and Central Asia. Blackwell, 1999.
  • Franklin, Simon and Shepard, Jonathon, The Emergence of Rus, 750–1200. (Longman History of Russia, general editor Harold Shukman.) Longman, London, 1996. ISBN 0-582-49091-X
  • Fennell, John, The Crisis of Medieval Russia, 1200–1304. (Longman History of Russia, general editor Harold Shukman.) Longman, London, 1983. ISBN 0-582-48150-3
  • Jones, Gwyn. A History of the Vikings. 2nd ed. London: Oxford Univ. Press, 1984.
  • Martin, Janet, Medieval Russia 980–1584. Cambridge University Press, Cambridge, 1993. ISBN 0-521-36832-4
  • Obolensky, Dimitri (1974) [1971]. The Byzantine Commonwealth: Eastern Europe, 500–1453. London: Cardinal. ISBN 9780351176449.
  • Pritsak, Omeljan. The Origin of Rus'. Cambridge Massachusetts: Harvard University Press, 1991.
  • Stang, Håkon. The Naming of Russia. Meddelelser, Nr. 77. Oslo: University of Oslo Slavisk-baltisk Avelding, 1996.
  • Alexander F. Tsvirkun E-learning course. History of Ukraine. Journal Auditorium, Kiev, 2010.
  • Velychenko, Stephen, National history as cultural process: a survey of the interpretations of Ukraine's past in Polish, Russian, and Ukrainian historical writing from the earliest times to 1914. Edmonton, 1992.
  • Velychenko, Stephen, "Nationalizing and Denationalizing the Past. Ukraine and Russia in Comparative Context", Ab Imperio 1 (2007).
  • Velychenko, Stephen "New wine old bottle. Ukrainian history Muscovite-Russian Imperial myths and the Cambridge-History of Russia," http://historians.in.ua/index.php/dyskusiya/853-stephen-velychenko-new-wine-old-bottle-ukrainian-history-muscovite-russian-imperial-myths-and-the-cambridge-history-of-russia

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง