ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี (หรือ เอเอฟซี ยู-23 เอเชียนคัพ; อังกฤษ: 2020 AFC U-23 Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี ครั้งที่ 4 จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ซึ่งการแข่งขันนี้เป็นการแข่งขันฟุตบอลแบบจำกัดอายุระดับนานาชาติสำหรับทีมชาติชุดเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปีในทวีปเอเชีย จัดขึ้นระหว่างวันที่ 8-26 มกราคม พ.ศ. 2563 โดยประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ แข่งขันกระจายใน 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี บุรีรัมย์ และสงขลา มี 16 ทีมเข้าร่วมการแข่งขัน

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพประเทศไทย
วันที่8–26 มกราคม พ.ศ. 2563[1]
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 4 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ เกาหลีใต้ (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศ ซาอุดีอาระเบีย
อันดับที่ 3 ออสเตรเลีย
อันดับที่ 4 อุซเบกิสถาน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู69 (2.16 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม93,872 (2,934 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดออสเตรเลีย Nicholas D'Agostino
อิรัก Mohammed Nassif
ไทย เจริญศักดิ์ วงษ์กรณ์
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Zaid Al-Ameri
อุซเบกิสถาน Islom Kobilov (คนละ 3 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมเกาหลีใต้ Won Du-jae
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมเกาหลีใต้ Song Bum-keun
รางวัลแฟร์เพลย์ ซาอุดีอาระเบีย
2018
2022

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี เป็นการแข่งขันเพื่อคัดเลือกเข้าสู่การแข่งขันฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อนโดย 3 อันดับแรกของการแข่งขันนี้ จะได้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ที่ประเทศญี่ปุ่น โดยเป็นตัวแทนของโซนเอเชีย[2] ซึ่งทีมชาติญี่ปุ่น ได้เข้าร่วมการแข่งขันอัตโนมัติเนื่องจากเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 หากทีมชาติญี่ปุ่นเข้าถึงรอบรองชนะเลิศในครั้งนี้ ทีมอื่นๆที่เข้ารอบรองชนะเลิศอีก 3 ทีม จะได้เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ทั้งหมด[3]

โดยทีมชาติอุซเบกิสถาน เป็นผู้ชนะเลิศในปีล่าสุด

การคัดเลือกเจ้าภาพ

ประเทศหลายประเทศซึ่งสนใจเป็นเจ้าภาพเดี่ยวในการแข่งขันนี้ ได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย, ประเทศมาเลเซีย, ประเทศไทย และประเทศเวียดนาม[4][5] โดยประเทศไทยได้รับคัดเลือกเป็นเจ้าภาพในการประชุมคณะกรรมการการแข่งขันของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียที่ โตเกียว เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561[6]

รอบคัดเลือก

รอบคัดเลือกจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 22–26 มีนาคม พ.ศ. 2562 ตามปฏิทินการแข่งขันนานาชาติฟีฟ่า[7]

ทีมที่เข้ารอบ

รายชื่อ 16 ทีมที่เข้ารอบในการแข่งขันรอบสุดท้าย

ทีมเข้ารอบในฐานะจำนวนครั้งที่เข้าร่วมผลงานที่ดีที่สุดที่เคยเข้าร่วมแข่งขัน
 ไทยเจ้าภาพครั้งที่ 3รอบแบ่งกลุ่ม (2016, 2018)
 กาตาร์ทีมชนะเลิศ กลุ่มเอครั้งที่ 3อันดับ 3 (2018)
 บาห์เรนทีมชนะเลิศ กลุ่มบีครั้งที่ 1ครั้งแรก
 อิรักทีมชนะเลิศ กลุ่มซีครั้งที่ 4ชนะเลิศ (2013)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทีมชนะเลิศ กลุ่มดีครั้งที่ 3รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2013, 2016)
 จอร์แดนทีมชนะเลิศ กลุ่มอีครั้งที่ 4อันดับ 3 (2013)
 อุซเบกิสถานทีมชนะเลิศ กลุ่มเอฟครั้งที่ 4ชนะเลิศ (2018)
 เกาหลีเหนือทีมชนะเลิศ กลุ่มจีครั้งที่ 4รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2016)
 เกาหลีใต้ทีมชนะเลิศ กลุ่มเอชครั้งที่ 4รองชนะเลิศ (2016)
 ญี่ปุ่นทีมชนะเลิศ กลุ่มไอครั้งที่ 4ชนะเลิศ (2016)
 จีนทีมชนะเลิศ กลุ่มเจครั้งที่ 4รอบแบ่งกลุ่ม (2013, 2016, 2018)
 เวียดนามทีมชนะเลิศ กลุ่มเคครั้งที่ 3รองชนะเลิศ (2018)
 ออสเตรเลียทีมรองชนะเลิศ กลุ่มเอช[note 1]ครั้งที่ 4รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2013)
 อิหร่านทีมรองชนะเลิศ กลุ่มซี[note 1]ครั้งที่ 3รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2016)
 ซีเรียทีมรองชนะเลิศ กลุ่มอี[note 1]ครั้งที่ 4รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2013)
 ซาอุดีอาระเบียทีมรองชนะเลิศ กลุ่มดี[note 1]ครั้งที่ 4รองชนะเลิศ (2013)

Notes:

สนามแข่งขัน

เบื้องต้นสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เสนอไปจำนวนทั้งหมด 7 สนามทั่วประเทศ สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียเลือกสนามที่จะใช้ในการแข่งขันครั้งนี้จำนวน 4 สนาม ดังนี้[8]

กรุงเทพมหานครจังหวัดปทุมธานี
ราชมังคลากีฬาสถานสนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต
ความจุ : 49,722 ที่นั่งความจุ : 20,000 ที่นั่ง
จังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดสงขลา
ช้างอารีนาสนามกีฬาติณสูลานนท์
ความจุ : 32,600 ที่นั่งความจุ : 45,000 ที่นั่ง

การจับสลาก

การจับสลากสำหรับรอบสุดท้ายได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2562, 15:00 ICT (UTC+7), ที่โรงแรมสวิสโอเท็ล แบงค็อก รัชดา ใน กรุงเทพมหานคร.[9][10][11] 16 ทีมได้ถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีสี่ทีม. แต่ละทีมเป็นทีมวางตามผลงานประสิทธิภาพของพวกเขาใน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2018 รอบสุดท้าย และ รอบคัดเลือก, กับชาติเจ้าภาพ ประเทศไทย ได้สิทธิ์เป็นทีมวางโดยอัตโนมัติและถูกจัดให้อยู่ในตำแหน่ง A1 ในการจับสลาก[12]

โถ 1โถ 2โถ 3โถ 4
  1.  ไทย (เจ้าภาพ)
  2.  อุซเบกิสถาน
  3.  เวียดนาม
  4.  กาตาร์
  1.  เกาหลีใต้
  2.  อิรัก
  3.  ญี่ปุ่น
  4.  เกาหลีเหนือ
  1.  จีน
  2.  ออสเตรเลีย
  3.  จอร์แดน
  4.  ซาอุดีอาระเบีย
  1.  ซีเรีย
  2.  อิหร่าน
  3.  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
  4.  บาห์เรน

ผู้เล่น

รอบแบ่งกลุ่ม

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบ 8 ทีมสุดท้าย.

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, ICT (UTC+7).

ตารางการแข่งขัน
แมตช์เดย์วันที่แข่งขันการประกบคู่
แมตช์เดย์ 18–10 มกราคม พ.ศ. 25631 v 4, 2 v 3
แมตช์เดย์ 211–13 มกราคม พ.ศ. 25634 v 2, 3 v 1
แมตช์เดย์ 314–16 มกราคม พ.ศ. 25631 v 2, 3 v 4

กลุ่ม เอ

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  ออสเตรเลีย312043+15รอบแพ้คัดออก
2  ไทย (H)311173+44
3  อิรัก30304403
4  บาห์เรน302138−52
อิรัก  1–1  ออสเตรเลีย
Nassif  77'รายงานPiscopo  62'
ไทย  5–0  บาห์เรน
ศุภณัฏฐ์  12'79'
สุภโชค  47'
เจริญศักดิ์  89'90+2'
รายงาน

บาห์เรน  2–2  อิรัก
Hashim Isa  44'
Marhoon  86'
รายงานAl-Ammari  65'
Nassif  90+2'
ผู้ชม: 112 คน
ผู้ตัดสิน: Ko Hyung-jin (เกาหลีใต้)
ออสเตรเลีย  2–1  ไทย
D'Agostino  43'76'รายงานอานนท์  24'

ไทย  1–1  อิรัก
เจริญศักดิ์  5' (ลูกโทษ)รายงานNassif  49'
ผู้ชม: 15,342 คน
ผู้ตัดสิน: Adham Makhadmeh (จอร์แดน)
ออสเตรเลีย  1–1  บาห์เรน
Najjarine  34'รายงานMarhoon  45+3'

กลุ่ม บี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  ซาอุดีอาระเบีย (A)321031+27รอบแพ้คัดออก
2  ซีเรีย (A)31114404
3  กาตาร์ (E)30303303
4  ญี่ปุ่น (E)301235−21
กาตาร์  2–2  ซีเรีย
Abdurisag  1'
Mohammad  22' (OG)
รายงานAl Rahman  31'
Dali  90+4'
ผู้ชม: 750 คน
ผู้ตัดสิน: Ilgiz Tantashev (อุซเบกิสถาน)
ญี่ปุ่น  1–2  ซาอุดีอาระเบีย
Meshino  56'รายงานAl Khulaif  48'
Ghareeb  88' (ลูกโทษ)

ซาอุดีอาระเบีย  0–0  กาตาร์
รายงาน
ซีเรีย  2–1  ญี่ปุ่น
Barakat  9' (ลูกโทษ)
Aldin Dali  88'
รายงานSoma  30'

กาตาร์  1–1  ญี่ปุ่น
Al-Ahrak  79' (ลูกโทษ)รายงานOgawa  73'
ซาอุดีอาระเบีย  1–0  ซีเรีย
Al-Buraikan  80'รายงาน
ผู้ตัดสิน: Valentin Kovalenko (อุซเบกิสถาน)

กลุ่ม ซี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีใต้330052+39รอบแพ้คัดออก
2  อุซเบกิสถาน311143+14
3  อิหร่าน31113304
4  จีน300304−40
อุซเบกิสถาน  1–1  อิหร่าน
Kobilov  40' (ลูกโทษ)รายงานDehghani  58'
ผู้ชม: 4,180 คน
ผู้ตัดสิน: Khamis Al-Marri (กาตาร์)
เกาหลีใต้  1–0  จีน
Dong-jun-lee  90+3'รายงาน
ผู้ชม: 6,000 คน
ผู้ตัดสิน: Mohammed Abdulla Hassan Mohamed (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

อิหร่าน  1–2  เกาหลีใต้
Shekari  54'รายงานLee Dong-jun  22'
Cho Kyu-seong  35'
ผู้ชม: 5,855 คน
ผู้ตัดสิน: Adham Makhadmeh (จอร์แดน)
จีน  0–2  อุซเบกิสถาน
รายงานKobilov  45+3' (ลูกโทษ)
Tukhtasinov  80'
ผู้ชม: 6,683 คน
ผู้ตัดสิน: Abdulrahman Al-Jassim (กาตาร์)

อุซเบกิสถาน  1–2  เกาหลีใต้
Abdixolikov  21'รายงานOh Se-hun  5'71'
จีน  0–1  อิหร่าน
รายงานNoorafkan  87' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 3,567 คน
ผู้ตัดสิน: Hanna Hattab (ซีเรีย)

กลุ่ม ดี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์312031+25รอบแพ้คัดออก
2  จอร์แดน312032+15
3  เกาหลีเหนือ310235−23
4  เวียดนาม302112−12
เวียดนาม  0–0  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
รายงาน
ผู้ชม: 3,967 คน
ผู้ตัดสิน: Muhammad Taqi (สิงคโปร์)
เกาหลีเหนือ  1–2  จอร์แดน
Sung-joo-lean  90+1'รายงานอะตีห์  45+1' (ลูกโทษ)
Al Zebdieh  74'
ผู้ชม: 305 คน
ผู้ตัดสิน: Alireza Faghani (อิหร่าน)

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  2–0  เกาหลีเหนือ
Al-Hammadi  17'
Al-Ameri  30'
รายงาน
จอร์แดน  0–0  เวียดนาม
รายงาน

เวียดนาม  1–2  เกาหลีเหนือ
Nguyễn Tiến Linh  16'รายงานBùi Tiến Dũng  27' (เข้าประตูตัวเอง)
Ri Chung-gyu  90' (ลูกโทษ)
จอร์แดน  1–1  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
Al-Khawaldeh  79'รายงานZ. Al-Ameri  41'

รอบแพ้คัดออก

สายการแข่งขัน

 
รอบ 8 ทีมสุดท้ายรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
18 มกราคม – กรุงเทพมหานคร
 
 
 ออสเตรเลีย
(ต่อเวลา)
1
 
22 มกราคม – ปทุมธานี
 
 ซีเรีย0
 
 ออสเตรเลีย0
 
19 มกราคม – ปทุมธานี
 
 เกาหลีใต้2
 
 เกาหลีใต้2
 
26 มกราคม – กรุงเทพมหานคร
 
 จอร์แดน1
 
 เกาหลีใต้
(ต่อเวลา)
1
 
18 มกราคม – ปทุมธานี
 
 ซาอุดีอาระเบีย0
 
 ซาอุดีอาระเบีย1
 
22 มกราคม – กรุงเทพมหานคร
 
 ไทย0
 
 ซาอุดีอาระเบีย1
 
19 มกราคม – กรุงเทพมหานคร
 
 อุซเบกิสถาน0นัดชิงอันดับ 3
 
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1
 
25 มกราคม – กรุงเทพมหานคร
 
 อุซเบกิสถาน5
 
 ออสเตรเลีย1
 
 
 อุซเบกิสถาน0
 

รอบ 8 ทีมสุดท้าย

ซาอุดีอาระเบีย  1–0  ไทย
Al-Hamdan  78' (ลูกโทษ)รายงาน

ออสเตรเลีย  1–0 (ต่อเวลาพิเศษ)  ซีเรีย
Toure  101'รายงาน

เกาหลีใต้  2–1  จอร์แดน
Cho Kyu-seong  16'
Lee Dong-gyeong  90+5'
รายงานAl-Naimat  75'
ผู้ชม: 596 คน
ผู้ตัดสิน: Abdulrahman Al-Jassim (กาตาร์)

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  1–5  อุซเบกิสถาน
Z. Al-Ameri  13'รายงานAlijanov  16'
Kobilov  26' (ลูกโทษ)
Bozorov  41'
Yakhshiboev  84'
Tukhtasinov  90+3'
ผู้ชม: 244 คน
ผู้ตัดสิน: Fu Ming (จีน)

รอบรองชนะเลิศ

ทีมชนะเลิศได้สิทธิ์ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020.

ซาอุดีอาระเบีย  1–0  อุซเบกิสถาน
Al-Hamdan  87'รายงาน

ออสเตรเลีย  0–2  เกาหลีใต้
รายงานKim Dae-won  56'
Lee Dong-gyeong  76'

นัดชิงอันดับ 3

ทีมชนะเลิศได้สิทธิ์ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020

ออสเตรเลีย  1–0  อุซเบกิสถาน
D'Agostino  47'รายงาน

รอบชิงชนะเลิศ

เกาหลีใต้  1–0 (ต่อเวลาพิเศษ)  ซาอุดีอาระเบีย
Jeong Tae-wook  113'รายงาน

ชนะเลิศและรางวัล

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020

เกาหลีใต้
1 สมัย

รางวัล

รางวัลด้านล่างนี้ได้รับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน:

ดาวซัลโวสูงสุด[13]ผู้เล่นทรงคุณค่า[14]ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม[13]รางวัลแฟร์เพลย์[13]
เจริญศักดิ์ วงษ์กรณ์[note 1] Won Du-jae Song Bum-keun  ซาอุดีอาระเบีย

ผู้ทำประตู

การแข่งขันทั้งหมดมี 69 ประตูที่ทำได้ใน 32 นัด, สำหรับค่าเฉลี่ย 2.16 ประตูต่อนัด

3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
  • Yosief Mohammad (ในนัดที่พบกับ กาตาร์)
  • Bùi Tiến Dũng (ในนัดที่พบกับ เกาหลีเหนือ)

การจัดอันดับแต่ละทีม

As per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-outs are counted as draws.

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนสรุปผลงานรอบสุดท้าย
1  เกาหลีใต้6600103+718ชนะเลิศ
2  ซาอุดีอาระเบีย641152+313รองชนะเลิศ
3  ออสเตรเลีย632165+111อันดับ 3
4  อุซเบกิสถาน621396+37อันดับ 4
5  จอร์แดน41214405ตกรอบใน
รอบก่อนรองชนะเลิศ
6  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์412146−25
7  ไทย (H)411274+34
8  ซีเรีย411245−14
9  อิหร่าน31113304ตกรอบใน
รอบแบ่งกลุ่ม
10  อิรัก30304403
11  กาตาร์30303303
12  เกาหลีเหนือ310235−23
13  เวียดนาม302112−12
14  บาห์เรน302138−52
15  ญี่ปุ่น301235−21
16  จีน300304−40

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับโอลิมปิกฤดูร้อน

สี่ทีมต่อไปนี้ที่มาจากเอเอฟซีได้สิทธิ์สำหรับ การแข่งขันฟุตบอลชายโอลิมปิกฤดูร้อน 2020, ประกอบไปด้วยญี่ปุ่นซึ่งได้สิทธิ์เข้ารอบในฐานะเจ้าภาพ

ทีมวันที่เข้ารอบจำนวนครั้งที่เข้ารอบที่ผ่านมาใน โอลิมปิกฤดูร้อน1
 ญี่ปุ่น7 กันยายน 201310 (1936, 1956, 1964, 1968, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
 ซาอุดีอาระเบีย22 มกราคม 2020[15]2 (1984, 1996)
 เกาหลีใต้22 มกราคม 2020[15]10 (1948, 1964, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
 ออสเตรเลีย25 มกราคม 20202 (2004, 2008)
1 ตัวหนา หมายถึงแชมเปียนส์สำหรับปีนั้น. ตัวเอียง หมายถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "note" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="note"/> ที่สอดคล้องกัน

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง