มหาวิทยาลัยเกียวโต

มหาวิทยาลัยเกียวโต (ญี่ปุ่น: 京都大学โรมาจิKyōto daigaku) หรือเรียกย่อว่า เคียวได (ญี่ปุ่น: 京大โรมาจิKyōdai) เป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับที่ 2 ของประเทศญี่ปุ่น[3] และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศ ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 22,000 คน มหาวิทยาลัยเกียวโตก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2412 (ค.ศ. 1869) ที่เมืองเกียวโต ในจังหวัดเกียวโต

มหาวิทยาลัยเกียวโต
京都大学
คติพจน์ญี่ปุ่น: 自由の学風
คติพจน์อังกฤษ
Freedom of academic culture
ประเภทรัฐ (ระดับชาติ)
สถาปนา18 มิถุนายน 1897; 126 ปีก่อน (1897-06-18)
ทุนทรัพย์¥ 316 พันล้าน (2.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)
อธิการบดีนากาฮิโระ มินาโตะ[1]
อาจารย์3,480 คน (อาจารย์)[2]
เจ้าหน้าที่3,978 คน (พนักงานทั้งหมด)[2]
ผู้ศึกษา22,615 คน[2]
ปริญญาตรี13,038 คน[2]
บัณฑิตศึกษา9,308 คน[2]
ที่ตั้ง, ,
35°01′34″N 135°46′51″E / 35.026212°N 135.780842°E / 35.026212; 135.780842
วิทยาเขตเขตเมือง
135 เฮกตาร์ (330 เอเคอร์)
กรีฑา48 ทีม
สี  น้ำเงินเข้ม
ฉายาKyodai
เครือข่ายKansai Big Six, ASAIHL
เว็บไซต์www.kyoto-u.ac.jp

มหาวิทยาลัยเกียวโตมีการเรียนการสอนที่เป็นที่ยอมรับ โดยมีมหาวิทยาลัยคู่แข่งเช่น มหาวิทยาลัยเคโอซึ่งก่อตั้งก่อนช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบาชิซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากในหมู่คนญี่ปุ่นและเปิดสอนเฉพาะวิชาด้านสังคมศาสตร์ หรือมหาวิทยาลัยโตเกียวซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงแห่งย่านคันโต

หอนาฬิกา มหาวิทยาลัยเกียวโต

ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง

  • ฮิเดะกิ ฟุกะวะ - ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
  • ชินิจิโระ โทะโมะนะกะ - ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
  • เคนอิจิ ฟุกุอิ - ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี
  • ซุซุมุ โทะเนะงะวะ - ได้รับรางวัลโนเบลสาขาแพทย์
  • ริวจิ โนะโยะริ - ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี
  • มะโกะโตะ โคะบะยะชิ - ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
  • โทะชิฮิเดะ มะสุกะวะ - ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงชาวไทย

อันดับมหาวิทยาลัย

อันดับมหาวิทยาลัย
อันดับในประเทศ(อันดับนานาชาติ)
สถาบันที่จัดอันดับ
QS WORLD (2019)2 (35)

จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยของคอกโครัลลีไซมอนส์ประจำปี ค.ศ. 2019 ได้จัดลำดับให้มหาวิทยาลัยเกียวโตอยู่ในอันดับที่ 35 ของโลก อันดับที่ 7 ของทวีปเอเชีย และอันดับที่ 2 ของประเทศญี่ปุ่น[5]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง