อะพอลโล 11

โครงการการบินอวกาศขององค์การนาซา

อะพอลโล 11 (อังกฤษ: Apollo XI) เป็นยานอวกาศลำแรกขององค์การนาซา ที่ลงจอดบนผิวของดวงจันทร์สำเร็จ อะพอลโล 11 ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศโดยจรวด แซเทิร์น 5 (Saturn V: อ่านว่า แซเทิร์นไฟว์) ที่ฐานยิงจรวด 39A แหลมเคเนดี รัฐฟลอริดา เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ.1969 ก่อนแยกยานลงดวงจันทร์ไปลงจอดบริเวณ "ทะเลแห่งความเงียบสงบ” (Mare Tranquilitatis) ได้สำเร็จ ในวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ.1969[8]

อะพอลโล 11
Apollo XI
บัซ อัลดรินยืนบนดวงจันทร์ ให้นีล อาร์มสตรองถ่ายรูป
ประเภทภารกิจCrewed lunar landing
ผู้ดำเนินการNASA
COSPAR ID
  • CSM: 1969-059A
  • LM: 1969-059C
SATCAT no.
  • CSM: 4039
  • LM: 4041
ระยะภารกิจ8 วัน, 3 ชั่วโมง, 18 นาที, 35 วินาที
ข้อมูลยานอวกาศ
ยานอวกาศ
  • Apollo CSM-107
  • Apollo LM-5
ผู้ผลิต
  • CSM: North American Rockwell
  • LM: Grumman
มวลขณะส่งยาน100,756 ปอนด์ (45,702 กิโลกรัม)
มวลหลังการลงจอด10,873 ปอนด์ (4,932 กิโลกรัม)
บุคลากร
ผู้โดยสาร3
รายชื่อผู้โดยสาร
  • Neil A. Armstrong
  • Michael Collins
  • Edwin E. Aldrin, Jr.
รหัสเรียก
  • CSM: Columbia
  • LM: Eagle
  • On surface: Tranquility Base
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้นJuly 16, 1969, 13:32:00 (1969-07-16UTC13:32Z) UTC[1]
จรวดนำส่งSaturn V SA-506
ฐานส่งKennedy Space Center LC-39A
สิ้นสุดภารกิจ
เก็บกู้โดยยูเอสเอส Hornet
ลงจอดแม่แบบ:End-date UTC
พิกัดลงจอดNorth Pacific Ocean
13°19′N 169°9′W / 13.317°N 169.150°W / 13.317; -169.150 (Apollo 11 splashdown)
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงวงโคจรที่มีดวงจันทร์เป็นศูนย์กลาง
ระยะใกล้สุด100.9 กิโลเมตร (54.5 ไมล์ทะเล)*[2]
ระยะไกลสุด122.4 กิโลเมตร (66.1 ไมล์ทะเล)*[2]
ความเอียง1.25 องศา[2]
คาบการโคจร2 ชั่วโมง[2]
วันที่ใช้อ้างอิงJuly 19, 1969, 21:44 UTC[2]
ยานอวกาศโคจรรอบ ดวงจันทร์
ส่วนประกอบยานอวกาศCommand and service module
แทรกวงโคจรJuly 19, 1969, 17:21:50 UTC[3]
ออกวงโคจรJuly 22, 1969, 04:55:42 UTC[4]
วงโคจร30
ยานลงจอด ดวงจันทร์
ส่วนประกอบยานอวกาศApollo Lunar Module
วันที่ลงจอดJuly 20, 1969, 20:17:40 UTC[5]
ปล่อยขากลับJuly 21, 1969, 17:54 UTC
ตำแหน่ง]'0vfTranquility Base,
Mare Tranquillitatis
แม่แบบ:Lunar coords and quad cat[6]
มวลตัวอย่าง21.55 กิโลกรัม (47.51 ปอนด์)
กิจกรรมนอกพาหนะบนพื้นผิว1
ระยะเวลากิจกรรมนอกพาหนะ2 ชั่วโมง, 31 นาที, 40 วินาที
Docking with LM
Docking dateJuly 16, 1969, 16:56:03 UTC[3]
Undocking dateJuly 20, 1969, 17:44:00 UTC[7]
Docking with LM ascent stage
Docking dateJuly 21, 1969, 21:35:00 UTC[4]
Undocking dateJuly 21, 1969, 23:41:31 UTC[4]
Circular insignia: eagle with wings outstretched holds olive branch on Moon with Earth in background, in blue and gold border.Three astronauts in spacesuits without helmets sitting in front of a large photo of the Moon.
ซ้ายไปขวา: นีล อาร์มสตรอง ผู้บังคับการ, ไมเคิล คอลลินส์ และเอดวิน อัลดริน
อะพอลโล 12 →
 

ลูกเรือในยานอวกาศประกอบด้วยนีล อาร์มสตรอง ผู้บังคับการ, บัซ อัลดริน นักบินยานลงดวงจันทร์ (Lunar Module) และไมเคิล คอลลินส์ เป็นนักบินยานบังคับการ (Command Module) อาร์มสตรองเป็นมนุษย์คนแรกที่ลงมาประทับรอยเท้าบนดวงจันทร์ ตามมาด้วยอัลดริน นักบินอวกาศทั้งสองได้ติดตั้งเครื่องวัดแผ่นดินไหว, กระจกสะท้อนเลเซอร์, เครื่องวัดลมสุริยะ, และเก็บตัวอย่างหินและดิน 21.6 กิโลกรัม นำกลับมายังโลก[9]

นักบินอวกาศทั้งสองใช้เวลาอยู่บนดวงจันทร์รวม 21 ชั่วโมง 36 นาที ใช้เวลานับตั้งแต่ออกเดินทางจนกลับถึงโลก 195 ชั่วโมง 18 นาที 35 วินาที โดยเดินทางกลับมาลงจอดบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ.1969 ยานอวกาศอะพอลโล 11 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการอะพอลโล ซึ่งเกิดจากความปรารถนาของประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี ที่ต้องการส่งมนุษย์ไปยังดวงจันทร์ให้สำเร็จ และกลับมายังโลกอย่างปลอดภัย[10]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง


🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง