กรรม

กรรม (สันสกฤต: कर्म, สัทอักษรสากล: [ˈkɐɽmɐ] ( ฟังเสียง); บาลี: kamma) หมายถึงการกระทำ[1] คำนี้สามารถกล่าวถึงหลักการทางจิตวิญญาณของเหตุภาพ ซึ่งส่วนใหญ่เรียกว่า กฎแห่งกรรม เมื่อเจตนาและการกระทำของบุคคลหนึ่ง (เหตุ) ส่งผลต่ออนาคตของบุคคลนั้น (ผล):[2] เจตนาและการกระทำที่ดีจะเป็นกรรมดีและไปเกิดใหม่, บังเกิดใหม่ในภพภูมิที่ดีกว่าหมายรวมถึงสวรรค์และอาณาจักรแห่งความบริบูรณ์ในคริสต์ศาสนาและศาสนาอิสลาม ในขณะที่เจตนาและการกระทำที่ไม่ดีก่อให้เกิดกรรมชั่วและไปเกิดใหม่ในภพภูมิที่เลวร้ายและทุกข์ทรมานสาหัสยิ่งกว่า[3][4]

ปมที่ไม่มีที่สิ้นสุด
ปมที่ไม่มีที่สิ้นสุดบนกงล้ออธิษฐานในวิหารประเทศเนปาล
สัญลักษณ์กรรม เช่น ปมที่ไม่มีที่สิ้นสุด (ข้างบน) มักพบในทวีปเอเชีย ปมที่ไม่มีที่สิ้นสุดสื่อถึงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล วัฏจักรกรรมยังคงดำเนินไปตลอด โดยสามารถพบสัญลักษณ์นี้ที่ใจกลางของกงล้ออธิษฐาน

หลักปรัชญาของกรรมมีความใกล้ชิดกับแนวคิดการกลับชาติมาเกิดในศาสนาแบบอินเดียหลายสำนัก (โดยเฉพาะศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ศาสนาเชน และศาสนาซิกข์)[5] เช่นเดียวกันกับลัทธิเต๋า[6] ซึ่งกล่าวไว้ว่า กรรมในปัจจุบันส่งผลต่อชีวิตในชาติหน้าใน สังสารวัฏ[7][8] และการบังเกิดใหม่ในคริสต์ศาสนาและศาสนาอิสลามหรือชีวิตหลังความตายที่รออยู่

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

อ้างอิง

แหล่งที่มา

  • Bhikkhu Thanissaro (2010), Wings to Awakening: Part I (PDF), Metta Forest Monastery, Valley Center, CA
  • Bronkhorst, Johannes (1998), "Did the Buddha Believe in Karma and Rebirth?", Journal of the International Association of Buddhist Studies, 21 (1): 1–20
  • Buswell, Robert E. (ed.) (2004), Encyclopedia of Buddhism, Macmillan Reference USA {{citation}}: |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  • Buswell, Robert E.; Lopez Jr., Donald S., บ.ก. (2013), The Princeton Dictionary of Buddhism, Princeton University Press
  • Chapple, Christopher (1986), Karma and Creativity, State University of New York Press, ISBN 0-88706-250-4
  • Dargyay, Lobsang (1986), "Tsong-Kha-Pa's Concept of Karma", ใน Neufeldt (บ.ก.), Karma and Rebirth: Post Classical Developments, State University of New York Press, ISBN 0-87395-990-6
  • Dasgupta, Surendranath (1991), A History of Indian Philosophy, Volume 4, Motilal Banarsidass Publ.
  • Gethin, Rupert (1998), Foundations of Buddhism, Oxford University Press
  • Gombrich, Richard F. (1997), How Buddhism Began. The Conditioned Genesis of the Early Teachings, New Delhi: Munshiram Manoharlal Publishers Pvt. Ltd.
  • Gombrich, Richard (2009), What the Buddha Thought, Equinox
  • Harvey, Peter (1990), Introduction to Buddhism, Cambridge University Press
  • Jaini, Padmanabh S. (1998) [1979], The Jaina Path of Purification, Delhi: Motilal Banarsidass, ISBN 978-81-208-1578-0
  • Kalupahana, David (1975), Causality: The Central Philosophy of Buddhism, University of Hawaii Press
  • Kalupahana, David J. (1992), The Principles of Buddhist Psychology, Delhi: ri Satguru Publications
  • Keown, Damien (2000), Buddhism: A Very Short Introduction, Oxford University Press, Kindle Edition
  • Mark Juergensmeyer; Wade Clark Roof (2011). Encyclopedia of Global Religion. SAGE Publications. ISBN 978-1-4522-6656-5.
  • Khandro Rinpoche (2003), This Precious Life, Shambhala
  • Klostermaier, Klaus K. (1986), "Contemporary Conceptions of Karma and Rebirth Among North Indian Vaisnavas", ใน Neufeldt, Ronald W. (บ.ก.), Karma and Rebirth: Post-classical Developments, Sri Satguru Publications
  • Kopf, Gereon (2001), Beyond Personal Identity: Dōgen, Nishida, and a Phenomenology of No-self, Psychology Press
  • Kragh, Ulrich Timme (2006), Early Buddhist Theories of Action and Result: A Study of Karmaphalasambandha, Candrakirti's Prasannapada, verses 17.1–20, Arbeitskreis für tibetische und buddhistische Studien, Universität Wien, ISBN 3-902501-03-0
  • Lamotte, Etienne (1987), Karmasiddhi Prakarana: The Treatise on Action by Vasubandhu, Asian Humanities Press
  • Lichter, David; Epstein, Lawrence (1983), "Irony in Tibetan Notions of the Good Life", ใน Keyes, Charles F.; Daniel, E. Valentien (บ.ก.), Karma: An Anthropological Inquiry, University of California Press
  • Matthews, Bruce (1986), "Chapter Seven: Post-Classical Developments in the Concepts of Karma and Rebirth in Theravada Buddhism", ใน Neufeldt, Ronald W. (บ.ก.), Karma and Rebirth: Post Classical Developments, State University of New York Press, ISBN 0-87395-990-6
  • Obeyesekere, Gananath (2005). Wendy Doniger (บ.ก.). Karma and Rebirth: A Cross Cultural Study. Motilal Banarsidass. ISBN 978-8120826090.
  • Padmakara Translation group (1994), "Translators' Introduction", The Words of My Perfect teacher, HarperCollins Publishers India
  • Schmithausen, Lambert (1986), Critical Response. In: Ronald W. Neufeldt (ed.), "Karma and rebirth: Post-classical developments", SUNY
  • Vetter, Tilmann (1988), The Ideas and Meditative Practices of Early Buddhism, BRILL

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง