กองทัพอากาศสหราชอาณาจักร

กองทัพอากาศหลวง (อังกฤษ: Royal Air Force; RAF) เป็นกองทัพอากาศของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งขึ้นในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1918[4] มันเป็นกองทัพอากาศอิสระที่เก่าแก่ที่สุดในโลก[5] ภายหลังจากที่ได้มีชัยเหนือฝ่ายมหาอำนาจกลางในปี ค.ศ. 1918 อาร์เอเอฟจึงอุบัติขึ้น ในช่วงสมัยนั้น กองทัพอากาศขนาดใหญ่ที่สุดในโลก[6] นับตั้งแต่การก่อตั้ง, อาร์เอเอฟได้เข้ามีบทบาทที่สำคัญในประวัติศาสตร์การทหารบริติซ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง,ได้เล่นบทบาทในส่วนใหญ่ในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งต่อสู้รบกับการทัพที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ ยุทธการที่บริเตน[7]

กองทัพอากาศหลวง
Royal Air Force
ตราสัญลักษณ์กองทัพอากาศหลวง
ประจำการ1 เมษายน 1918; 106 ปีก่อน (1918-04-01)
ประเทศสหราชอาณาจักร
รูปแบบกองทัพอากาศ
บทบาทสงครามทางอากาศ
กำลังรบประจำการ 33,840 นาย[1]
เครื่องบินปฏิบัติการ 832 ลำ[2]
กองกำลังสนับสนุนทหารอากาศ 1,940 นาย
กองกำลังสำรอง 2,220 นาย[a]
ขึ้นกับกองทัพสหราชอาณาจักร
Air Staff Officesพระราชวังไวต์ฮอล, ลอนดอน
คำขวัญละติน: Per Ardua ad Astra
"ผ่านความทุกข์ยากสู่ดวงดาว"[3]
เพลงหน่วยมาร์ชกองทัพอากาศหลวง
เว็บไซต์www.raf.mod.uk
ผู้บังคับบัญชา
จอมทัพสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3
เสนาธิการทหารอากาศจอมพลอากาศ ไมเคิล วกสตัน
ผบ. สำคัญLord Trenchard
Lord Portal
เครื่องหมายสังกัด
Ensign
Logo
Roundels
Roundel Low visibility roundel
Fin flashes
Fin flash Low visibility fin flash
Pilot's brevet
Aircraft flown
Attack
  • Eurofighter Typhoon
  • General Atomics MQ-9A Reaper
  • General Atomics MQ-9B Protector RG.1
  • Lockheed Martin F-35B Lightning
Fighter
Trainer helicopter
  • Airbus Helicopters Jupiter HT.1
  • Airbus Helicopters Juno HT.1
เฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์
  • Aérospatiale SA 330 Puma HC.2
  • Leonardo AW109SP GrandNew
  • Bell Griffin HAR.2
  • Boeing Chinook HC.4/5/6/6A
Reconnaissance
  • Beechcraft Shadow R.1
  • Boeing E-3D Sentry AEW.1
  • Boeing RC-135W Rivet Joint
  • General Atomics MQ-9A Reaper
  • Raytheon Sentinel R.1
Trainer
  • BAE Hawk T.1/T.2
  • Beechcraft Super King Air
  • Grob Viking T.1
  • Typhoon T.3
  • Grob Prefect T.1
  • Grob Tutor T.1
  • Short Tucano T.1
Transport
  • Airbus Voyager KC.2/KC.3
  • Airbus A400M Atlas C.1
  • Boeing C-17 Globemaster III
  • BAe 146 CC.2/C.3
  • Lockheed Martin C-130J Hercules C.4/C.5

ภารกิจของกองทัพอากาศคือการสนับสนุนเป้าหมายของบริติซโดยกระทรวงกลาโหม(MOD) ซึ่งจะต้อง"ให้มีความสามารถในการรับประกันความปลอดภัยและการปกป้องสหราชอาณาจักรและดินแดนโพ้นทะเล รวมทั้งรับมือกับการก่อการร้าย เพื่อสนับสนุนวัตถุประสงค์ในนโยบายต่างประเทศของรัฐบาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ"[3] อาร์เอเอฟได้อธิบายถึงภารกิจของตนว่า "การให้ คือ ความคล่องตัว ปรับตัว และความสามารถของกองทัพอากาศ, บุคคลสำหรับบุคคล ไม่เป็นสองรองใคร และนั้นทำให้เกิดการสนับสนุนอำนาจน่านฟ้าที่เด็ดขาดเพื่อสนับสนุนภารกิจป้องกันสหราชอาณาจักร"[8] คำอธิบายภารกิจได้รับการสนับสนุนโดยคำนิยามของอาร์เอเอฟซึ่งเป็นแนวทางยุทธศาสตร์ อำนาจน่านฟ้าได้ถูกกำหนดให้เป็น"ความสามารถเพื่อโครงงานอำนาจทางอากาศและอวกาศเพื่อมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้คนหรือเส้นทางของเหตุการณ์"[9]

ปัจจุบัน กองทัพอากาศสหราชอาณาจักรได้มีกองบินปฏิบัติการของเครื่องบินรุ่นต่างๆ[10] ได้ถูกอธิบายโดยอาร์เอเอฟว่าเป็น"ชายหน้าปีกเครื่องบิน"ในแง่เทคโนโลยี[11] สิ่งนี้ส่วนใหญ่ประกอบด้วยเครื่องบินปีกตรึง รวมทั้งเครื่องบินขับไล่และเครื่องบินจู่โจม เครื่องบินตรวจการณ์เตือนภัยทางอากาศล่วงหน้าและการควบคุม(AEW&C) เครื่องบินหน่วยข่าวกรอง, การเฝ้าระวัง, การเข้ายึดครองเป้าหมาย และการลาดตะเวน(ISTAR), ข่าวกรองทางสัญญาณ(SIGINT) และเครื่องบินสำหรับการเติมเชื้อเพลิงกลางเวหา และเครื่องบินขนส่งทางยุทธศาสตร์และกลยุทธวิธี ส่วนมากของเครื่องบินปีกหมุนของกองทัพอากาศสหราชอาณาจักรจากส่วนหนึ่งของ tri-service กองบัญชาการกองบินปีกหมุนร่วม(Joint Helicopter Command)ในการสนับสนุนกองกำลังทางภาคพื้นดิน ส่วนใหญ่ของเครื่องบินแห่งอาร์เอเอฟและบุคลากรอยู่ในฐานทัพสหราชอาณาจักร กับคนอื่นๆที่ทำหน้าที่ในปฏิบัติการ(โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอิรักและซีเรีย) หรือฐานทัพโพ้นทะเลที่มีมายาวนาน(เกาะอัสเซนชัน, ไซปรัส, ยิบรอลตาร์ และหมู่เกาะฟอล์กแลนด์) ถึงแม้ว่าอาร์เอเอฟจะเป็นกองทัพอากาศหลักของอังกฤษ แต่กองบินนาวี (Fleet Air Arm) แห่งราชนาวีและกองบินทหารบก (Army Air Corps)แห่งกองทัพบกบริติซยังส่งมอบอำนาจน่านฟ้าซึ่งรวมเข้ากับสภาพแวดล้อมทางทะเล ชายฝั่ง และพื้นดิน

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง