การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งที่ 20[1] จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยสาเหตุมาจากที่ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศยุบสภา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543[2] นับว่าเป็น การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในระบบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ซึ่งแบ่งเป็นระบบบัญชีรายชื่อ 100 คน และแบบแบ่งเขตเลือกตั้งอีก 400 คน ภายใต้การกำกับดูแลและจัดการเลือกตั้งของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 25396 มกราคม พ.ศ. 2544พ.ศ. 2548 →

ทั้งหมด 500 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ต้องการ 251 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก
ลงทะเบียน42,759,001
ผู้ใช้สิทธิ69.94% (เพิ่มขึ้น 7.52 จุด)
 First partySecond partyThird party
 
Thaksin crop.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
ผู้นำทักษิณ ชินวัตรชวน หลีกภัยบรรหาร ศิลปอาชา
พรรคไทยรักไทยประชาธิปัตย์ชาติไทย
ผู้นำตั้งแต่14 กรกฎาคม 254126 มกราคม 253417 พฤษภาคม 2537
เขตของผู้นำบัญชีรายชื่อ (#1)บัญชีรายชื่อ (#1) สุพรรณบุรี เขต 4
เลือกตั้งล่าสุด123 ที่นั่ง, 31.78%39 ที่นั่ง, 9.88%
ที่นั่งที่ชนะ24812841
ที่นั่งเปลี่ยนพรรคใหม่เพิ่มขึ้น 5เพิ่มขึ้น 2
คะแนนเสียง11,634,4957,610,7891,516,192
%40.64%26.58%5.23%
%เปลี่ยนพรรคใหม่ลดลง 5.92 จุดลดลง 4.65 จุด

 Fourth partyFifth partySixth party
 
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Korn Dabbaransi 2023.jpg
ประจวบ ไชยสาส์น.jpg
ผู้นำชวลิต ยงใจยุทธกร ทัพพะรังสีประจวบ ไชยสาส์น
พรรคความหวังใหม่ชาติพัฒนาเสรีธรรม
ผู้นำตั้งแต่16 ตุลาคม 253330 ธันวาคม 254115 กันยายน 2543
เขตของผู้นำบัญชีรายชื่อ (#1)บัญชีรายชื่อ (#1)บัญชีรายชื่อ (#1)
เลือกตั้งล่าสุด125 ที่นั่ง, 29.14%52 ที่นั่ง, 12.38%4 ที่นั่ง, 1.24%
ที่นั่งที่ชนะ362914
ที่นั่งเปลี่ยนลดลง 89ลดลง 23เพิ่มขึ้น 10
คะแนนเสียง1,996,2271,752,981821,736
%6.89%6.05%2.82%
%เปลี่ยนลดลง 22.25 จุดลดลง 6.33 จุดเพิ่มขึ้น 1.58 จุด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
รหัสสี: ไทยรักไทย, ประชาธิปัตย์, ชาติไทย,   ความหวังใหม่,ชาติพัฒนา, อื่น ๆ
แต่ละจังหวัดอาจประกอบด้วยที่นั่งเดียวหรือหลายที่นั่งก็ได้ โดยสีที่ปรากฏนี้บ่งบอกถึงพรรคที่ได้ที่นั่งมากที่สุดในจังหวัดนั้น

องค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร หลังจากการเลือกตั้ง

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

ว่าที่นายกรัฐมนตรี

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งในครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งครั้งแรกที่มีการพิจารณาเรื่องร้องเรียนผลการเลือกตั้ง ก่อนประกาศรับรอง และมีการประกาศให้จัดการเลือกตั้งใหม่ โดยในการรับรองผลการเลือกตั้งในรอบแรก มีการรับรองจำนวนทั้งสิ้น 338 คน และประกาศให้เลือกตั้งใหม่ 62 เขตเลือกตั้ง

การย้ายสังกัดพรรคการเมือง

พรรคกิจสังคม

ย้ายไปพรรคถิ่นไทย

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ย้ายไปพรรคเสรีธรรม

พรรคความหวังใหม่

ย้ายไปพรรคชาติพัฒนา

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

พรรคชาติไทย

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ย้ายไปพรรคประชาธิปัตย์

  • เรวัต สิรินุกุล สส.กาญจนบุรี

พรรคชาติพัฒนา

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

พรรคไท

ย้ายไปพรรคความหวังใหม่

พรรคประชากรไทย

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ย้ายไปพรรคราษฎร

พรรคประชาธิปัตย์

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

พรรคพลังธรรม

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

พรรคมวลชน

ยุบรวมกับพรรคความหวังใหม่

พรรคเอกภาพ

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ย้ายไปพรรคชาติไทย

รูปแบบการเลือกตั้ง

ระบบบัญชีรายชื่อ

หมายเลขพรรคการเมือง[3]
1พรรคเสรีประชาธิปไตย
2พรรคชาวไทย
3พรรคกสิกรไทย
4พรรคนิติมหาชน
5พรรคความหวังใหม่
6พรรครักสามัคคี
7พรรคไทยรักไทย
8พรรคชาติประชาธิปไตย
9พรรคชาติไทย
10พรรคสันติภาพ
11พรรคถิ่นไทย
12พรรคพลังประชาชน
13พรรคราษฎร
14พรรคสังคมใหม่
15พรรคเสรีธรรม
16พรรคประชาธิปัตย์
17พรรคอำนาจประชาชน
18พรรคประชากรไทย
19พรรคไท
20พรรคก้าวหน้า
21พรรคชาติพัฒนา
22พรรคแรงงานไทย
23พรรคเผ่าไทย
24พรรคสังคมประชาธิปไตย
25พรรคชีวิตที่ดีกว่า
26พรรคพัฒนาสังคม
27พรรคไทยช่วยไทย
28พรรคไทยมหารัฐ
29พรรคศรัทธาประชาชน
30พรรควิถีไทย
31พรรคไทยประชาธิปไตย
32พรรคพลังธรรม
33พรรคชาวนาพัฒนาประเทศ
34พรรคกิจสังคม
35พรรคไทเป็นไท
36พรรคพลังเกษตรกร
37พรรคสยาม

ผลการเลือกตั้ง

ผลอย่างเป็นทางการ

248
41
36
18
29
128
ไทยรักไทย
ชท.
ควม.
อื่นๆ
ชพน.
ประชาธิปัตย์
e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544
พรรคแบบแบ่งเขตแบบบัญชีรายชื่อรวม
คะแนนเสียง%ที่นั่งคะแนนเสียง%ที่นั่งที่นั่ง%
ไทยรักไทย20011,634,49540.64%4824849.6%
ประชาธิปัตย์977,610,78926.58%3112825.6%
ชาติไทย351,523,8075.32%6418.2%
ความหวังใหม่282,008,9487.02%8367.2%
ชาติพัฒนา221,755,4766.13%7295.8%
เสรีธรรม14807,9022.82%0142.8%
ราษฎร2356,8311.25%020.4%
ถิ่นไทย1604,0492.11%010.2%
กิจสังคม144,9260.16%010.2%
อื่น ๆ2,281,9797.97%
คะแนนสมบูรณ์100%40028,629,202100%100500100%
ไม่ประสงค์ลงคะแนน1,002,0833.35%530,5991.77%
คะแนนเสีย2,992,08110.01%745,8292.49%
จำนวนผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง29,904,94069.94%29,909,27169.95%
จำนวนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง42,759,00142,759,001
ที่มา: คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ


หลังการเลือกตั้ง

คณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ดังต่อไปนี้

  • 29 มกราคม พ.ศ. 2544 มีการจัดการเลือกตั้งใหม่ 62 เขต[4] หลังจากที่รับรอง สส.แบ่งเขตไป 338 คน
พรรคกทม.ภาคเหนือภาคกลางภาคอีสานภาคใต้รวม
พรรคไทยรักไทย16115124
พรรคชาติพัฒนา-118-10
พรรคความหวังใหม่--1719
พรรคประชาธิปัตย์-232-7
พรรคชาติไทย--13-4
พรรคเสรีธรรม---4-4
พรรคราษฎร--11-2
พรรคถิ่นไทย---1-1
รวม19841261
  • ในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2544 จำนวน 7 เขตเลือกตั้ง ได้แก่ กาญจนบุรี เขต 5 ขอนแก่น เขต 10 นครนายก เขต 2 บุรีรัมย์ เขต 5 สุรินทร์ เขต 4 อุบลราชธานี เขต 1 และเขต 10 ซึ่งผลการเลือกตั้งพรรคไทยรักไทย ได้ 3 ที่นั่ง ชาติไทย 2 ที่นั่ง ความหวังใหม่ 1 ที่นั่ง และราษฎร 1 ที่นั่ง
  • ในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2544 จำนวน 2 เขตเลือกตั้ง ได้แก่ นครนายก เขต 2 และอุบลราชธานี เขต 10 ซึ่งผลการเลือกตั้งพรรคชาติไทย และพรรคราษฎร ได้ไปพรรคละ 1 ที่นั่ง
  • ในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2545 จำนวน 14 เขตเลือกตั้ง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เขต 4 และเขต 26 กาฬสินธุ์ เขต 2 จันทบุรี เขต 1 นครพนม เขต 3 นนทบุรี เขต 3 เพชรบูรณ์ เขต 4 มหาสารคาม เขต 2 มุกดาหาร เขต 2 ลพบุรี เขต 3 ศรีสะเกษ เขต 1 และเขต 5 สิงห์บุรี เขต 2 และอุทัยธานี เขต 1 ซึ่งผลการเลือกตั้งพรรคชาติพัฒนา และไทยรักไทย พรรคละ 4 ที่นั่ง ความหวังใหม่ ประชาธิปัตย์ และชาติไทย พรรคละ 2 ที่นั่ง
  • ในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2545 ที่จังหวัดอุบลราชธานี เขต 10 ผลการเลือกตั้ง นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ จากพรรคไทยรักไทยได้รับเลือกตั้ง
  • ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2546 ที่จังหวัดศรีสะเกษ เขต 1 ผลการเลือกตั้ง นายธเนศ เครือรัตน์ จากพรรคไทยรักไทยได้รับเลือกตั้ง
  • ในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่จังหวัดนนทบุรี เขต 3 ผลการเลือกตั้ง นางพิมพา จันทร์ประสงค์ จากพรรคไทยรักไทยได้รับเลือกตั้ง
  • ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ที่จังหวัดสงขลา เขต 3 ผลการเลือกตั้ง นายวิรัตน์ กัลยาศิริ จากพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับเลือกตั้ง
  • ในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2547 ที่จังหวัดนครปฐม เขต 3 ผลการเลือกตั้ง นายประสิทธิ์ ภักดีพาณิชพงศ์ จากพรรคไทยรักไทย ได้รับเลือกตั้ง

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง