ยุทธการที่คูสค์

ยุทธการที่คูสค์ (อังกฤษ: Battle of Kursk) เกิดขึ้นเมื่อกำลังเยอรมนีและโซเวียตเผชิญหน้ากันในแนวรบด้านตะวันออกระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง บริเวณย่านชานนครคูสค์ (Kursk) ห่างจากกรุงมอสโกไปทางใต้ 450 กิโลเมตร ในสหภาพโซเวียต ช่วงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม ค.ศ. 1943 ยุทธการที่คูสค์เป็นทั้งชุดของการสงครามยานเกราะที่ใหญ่ที่สุด รวมถึงยุทธการที่โปรโฮรอฟกา และการสงครามทางอากาศวันเดียวราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์ ยุทธการนี้นับเป็นการรุกทางยุทธศาสตร์ครั้งสุดท้ายของเยอรมนีที่สามารถดำเนินการได้ในทางตะวันออก ชัยชนะเด็ดขาดของโซเวียตที่เป็นผลให้กองทัพแดงมีการริเริ่มทางยุทธศาสตร์ในช่วงที่เหลือของสงคราม

ยุทธการคูสค์
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง

การรุกที่โดดเด่นของฝ่ายเยอรมนีในช่วงการโจมตีที่คูสต์ และการรุกตอบโต้ของฝ่ายโซเวียตในบริเวณตอนเหนือ
วันที่5 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 (1943-07-05) – 23 สิงหาคม ค.ศ. 1943 (1943-08-23)
(1 เดือน 2 สัปดาห์ 4 วัน)
  • การรุกของเยอรมนี: 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 (1943-07-05) – 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 (1943-07-16)
  • การรุกของโซเวียต: 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 (1943-07-12) – 23 สิงหาคม ค.ศ. 1943 (1943-08-23)
สถานที่
ผลโซเวียตชนะ
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
  • หลังสงคราม โซเวียตได้ดินแดนเพิ่มพร้อมกับแนวหน้าที่กว้าง 2,000 กิโลเมตร (1,200 ไมล์)[a]
คู่สงคราม
 ไรช์เยอรมัน สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
  • ปฏิบัติการซิทาเดล:
      • ทหาร 780,900 นาย[1]
      • รถถัง 2,928 คัน[1]
      • ปืนใหญ่และปืนครก 9,966 กระบอก[2]
  • ระยะรุกกลับของโซเวียต:
      • ทหาร 940,900 นาย[1]
      • รถถัง 3,253 คัน[1]
      • ปืนใหญ่และปืนครก 9,467 กระบอก[3]
  • อากาศยาน 2,110 ลำ[4]
  • ปฏิบัติการซิทาเดล:
      • ทหาร 1,910,361 นาย (รวมทหารที่สู้รบจริง 1,426,352 นาย)[5]
      • รถถัง 5,128 คัน[5]
      • ปืนใหญ่และปืนครก 25,013 กระบอก[2]
  • ระยะรุกกลับของโซเวียต:
      • ทหาร 2,500,000 นาย[5]
      • รถถัง 7,360 คัน[5]
      • ปืนใหญ่และปืนครก 47,416 กระบอก[3]
  • อากาศยาน 2,792[6][b] ถึง 3,549 ลำ[7][c]
ความสูญเสีย
  • ปฏิบัติการซิทาเดล:[d][8]
      • ทหาร 54,182 นาย[9][e][10]
      • รถถังและปืนใหญ่จู่โจมพังทลาย 252–323 อัน[11][12]
      • รถถังและปืนใหญ่จู่โจมพังทลายเสียหาย 1,612 อัน[13][14]
      • อากาศยาน 159 ลำ[15][16]
      • ปืนประมาณ 500 กระบอก[15]
  • ยุทธการคูสค์:[f]
      • ทหาร 165,314 (54,182 นายในช่วงปฏิบัติการซิทาเดล และ 111,132 นายในช่วงระยะรุกกลับของโซเวียต) [17][g] – 203,000 นาย[18]
      • รถถังและปืนใหญ่จู่โจมพังทลายประมาณ 760[19]-1,200 อัน[20]
      • อากาศยาน 681 ลำ (ในวันที่ 5–31 กรกฎาคม)[21][h]
  • ปฏิบัติการซิทาเดล:[d]
      • ทหาร 177,847 นาย[22][10]
      • รถถังและปืนใหญ่จู่โจมพังทลายหรือเสียหาย 1,614[23]–1,956 อัน[24]
      • อากาศยาน 459[25] ~ 1,000 ลำ[26]
  • ยุทธการคูสค์:[f]
      • ทหารเสียชีวิต หายตัว หรือถูกจับกุม 254,470 นาย
        บาดเจ็บหรือป่วย 608,833 นาย[27][i] (บาดเจ็บ 74% และป่วย 26%[28])
      • รวม 863,303 นาย[29] (บาดเจ็บและเสียชีวิตในสงครามประมาณ 710,000 นาย)
      • รถถังและปืนใหญ่จู่โจมถูกทำลายหรือเสียหายอย่างหนัก 6,064 อัน[30][j][12][31] (ในจำนวนนี้ ถูกทำลายไป 60–65%[32])
      • อากาศยานประมาณ 2,220 ลำ (รวมลำที่บินระยะไกล)[29]
      • ปืนใหญ่ 5,244 กระบอก[25]
ยุทธการที่คูสค์ตั้งอยู่ในรัสเซียฝั่งยุโรป
ยุทธการที่คูสค์
ที่ตั้งในประเทศรัสเซียในปัจจุบัน

ฝ่ายเยอรมนีหวังจะย่นแนวรบของตนโดยกำจัดส่วนที่ยื่นออกมาที่คูสค์ ซึ่งเป็นผลมาจากความพ่ายแพ้ในยุทธการที่สตาลินกราด คีมตามที่คิดไว้ล่วงหน้าเจาะผ่านปีกด้านเหนือและใต้เพื่อบรรลุการล้อมกำลังกองทัพแดงใหญ่ อย่างไรก็ดี ฝ่ายโซเวียตมีข่าวกรองเจตนาของกองทัพเยอรมัน ด้วยเหตุนี้ ประกอบกับความล่าช้าของเยอรมนีที่ต้องรออาวุธใหม่ ส่วนใหญ่คือ รถถังทีเกอร์และแพนเธอร์[33][34] ทำให้กองทัพแดงมีเวลาสร้างแนวป้องกันเป็นชุดและเก็บกำลังหนุนขนาดใหญ่เพื่อการตีโต้ตอบทางยุทธศาสตร์[35]

โดยได้รับแจ้งล่วงหน้าหลายเดือนว่าการโจมตีจะเกิดแก่คอของส่วนที่ยื่นออกมาที่คูสค์ ฝ่ายโซเวียตวางแผนที่จะชะลอ หันเห ตลอดจนทำให้หัวหอกแพนเซอร์อันทรงพลังของเยอรมนีอ่อนกำลังและค่อย ๆ ยอมจำนน โดยบีบให้พวกเขาโจมตีผ่านเครือข่ายเขตทุ่นระเบิด เขตยิงปืนใหญ่มองเห็นล่วงหน้า (pre-sighted artillery fire zone) และที่มั่นแข็งแรงต่อสู้รถถังที่อำพรางไว้ ประกอบด้วยแนวป้องกันมีพื้นที่ว่างแปดแนว ลึก 250 กิโลเมตร ซึ่งลึกกว่า 10 เท่าของแนวมากีโน และมีปืนใหญ่ต่อสู้รถถังกว่าอัตรา 1:1 ของยานพาหนะที่จะเข้าตี ซึ่งเชื่อมต่อถึงกันอย่างกว้างขวาง จนถึงปัจจุบันยังเป็นงานการป้องกันที่กว้างขวางที่สุดที่เคยก่อสร้างมา และพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า มีความลึกเกินกว่าสามเท่าของความลึกที่จำเป็นต่อการชะลอขอบเขตไกลที่สุดของการโจมตีฝ่ายเยอรมัน[36]

เมื่อกองทัพเยอรมันหมดกำลังไปกับการป้องกัน ฝ่ายโซเวียตก็สนองด้วยการตีโต้ตอบ ซึ่งทำให้กองทัพแดงยึดโอเรลและเบลโกรอดคืนได้เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม และฮาร์คอฟเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม และผลักดันฝ่ายเยอรมันกลับไปข้ามแนวรบอันกว้างใหญ่

แม้กองทัพแดงจะเคยประสบความสำเร็จในฤดูหนาว แต่ชัยชนะครั้งนี้นับเป็นการรุกทางยุทธศาสตร์ในฤดูร้อนของโซเวียตที่ประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรกในสงคราม ปฏบัติการยุทธศาสตร์อันเป็นต้นแบบนี้ได้บรรจุในหลักสูตรวิทยาลัยการทัพ[37] ยุทธการคูสค์เป็นยุทธการครั้งแรกซึ่งการรุกบลิทซครีกประสบความล้มเหลวก่อนที่จะสามารถเจาะผ่านการป้องกันของข้าศึกและเข้าไปในความลึกเชิงยุทธศาสตร์ (strategic depth)[38]

แม้ว่ากองทัพเยอรมันจะถูกผลักดันแต่จอมพลเอริค ฟอน มันสไตน์ตั้งใจจะตั้งรับโซเวียตในแนวรบตะวันออกให้ได้แต่ทว่ากลับไม่เป็นไปอย่างที่คิด เนื่องจากฮิตเลอร์ได้สั่งให้ถอนกำลังยานเกราะแพนเซอร์ไปยังอิตาลี เพราะได้ข่าวว่ากองทัพสัมพันธมิตรได้บุกยึดเกาะซิซิลีแล้ว อิตาลีภายใต้การนำของเบนิโต มุสโสลินีกำลังตกอยู่ในอันตราย ดังนั้นฮิตเลอร์ต้องช่วยเหลือด่วน. ฟอน มันสไตน์ได้พยายามคัดค้านแต่กลับไร้ผล เมื่อไร้ยานเกราะแพนเซอร์ กองทัพแดงกลับสามารถรุกได้อย่างรวดเร็วจนกองทัพเยอรมันต้องออกจากดินแดนรัสเซีย. ฟอน มันสไตน์ได้โทษฮิตเลอร์ว่าการวางแผนรบของฮิตเลอร์นั้นไร้สาระ

หมายเหตุ

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Atkinson, Rick (2007). The Day of Battle, The War in Sicily and Italy, 1943–1944. The Liberation Trilogy. Vol. II. New York: Henry Holt. ISBN 978-0-8050-6289-2.
  • Beevor, Antony (2012). The Second World War. New York: Back Bay Books. ISBN 978-0-316-02374-0.
  • Bellamy, Christopher (October 2003). "Implications for Military and Strategic Thought". RUSI Journal. 148 (5): 84–88.
  • Bergström, Christer (2007). Kursk — The Air Battle: July 1943. Hersham: Chevron/Ian Allan. ISBN 978-1-903223-88-8.
  • Bergström, Christer (2008). Bagration to Berlin — The Final Air Battle in the East: 1941–1945. Burgess Hill: Chevron/Ian Allan. ISBN 978-1-903223-91-8.
  • Barbier, Mary Kathryn (2002). Kursk: The Greatest Tank Battle, 1943. Zenith Imprint. ISBN 978-0-760312-54-4.
  • Brand, Dieter (2003). "Vor 60 Jahren: Prochorowka (Teil II)". Österreichische Militärische Zeitschrift (ภาษาเยอรมัน). Bundesministerium für Landesverteidigung und Sport (6). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2014.
  • Bauman, Walter (1998). Kursk Operation Simulation and Validation Exercise – Phase II (KOSAVE II). Maryland: US Army Concepts Analysis Agency. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 20 มิถุนายน 2013. — A study of the southern sector of the Battle of Kursk conducted by the US Army Concepts Analysis Agency and directed by Walter J. Bauman, using data collected from military archives in Germany and Russia by The Dupuy Institute (TDI).
  • Citino, Robert M. (2012). The Wehrmacht Retreats: Fighting a Lost War, 1943. Lawrence, KS: University Press of Kansas. ISBN 978-0-7006-1826-2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 ตุลาคม 2016.
  • Citino, Robert; Parshall, Jonathan (2013). Kursk, The Epic Armored Engagement. 2013 International Conference on WWII. via the official channel of The National WWII Museum; session by the historians. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-11.
  • Clark, Alan (1966). Barbarossa: The Russian-German Conflict 1941–1945. New York: Morrow. ISBN 0-688-04268-6. OCLC 40117106.
  • Clark, Lloyd (2012). Kursk: The Greatest Battle: Eastern Front 1943. London: Headline Publishing Group. ISBN 978-0-7553-3639-5.
  • Copeland, B. Jack. "Colossus, The First Large Scale Electronic Computer". สืบค้นเมื่อ 14 June 2013.
  • Corum, James (January 1995). "The Luftwaffe's Army Support Doctrine, 1918–1941". The Journal of Military History. 59 (1): 53–76. doi:10.2307/2944364. ISSN 1543-7795. JSTOR 2944364.
  • Dunn, Walter (1997). Kursk: Hitler's Gamble, 1943. Westport, Conn: Greenwood Press. ISBN 978-0-275-95733-9.
  • Empric, Bruce E. (2020). Tigers on the Steppe: Red Army Valor in the Battle of Kursk. Seattle: Teufelsberg Press. ISBN 979-8631663336.
  • Frieser, Karl-Heinz; Schmider, Klaus; Schönherr, Klaus; Schreiber, Gerhard; Ungváry, Kristián; Wegner, Bernd (2007). Die Ostfront 1943/44 – Der Krieg im Osten und an den Nebenfronten [The Eastern Front 1943–1944: The War in the East and on the Neighbouring Fronts]. Das Deutsche Reich und der Zweite Weltkrieg [Germany and the Second World War] (ภาษาเยอรมัน). Vol. VIII. München: Deutsche Verlags-Anstalt. ISBN 978-3-421-06235-2.
  • Gerwehr, Scott; Glenn, Russell W. (2000). The Art of Darkness: Deception and Urban Operations. Santa Monica: Rand. ISBN 0-8330-4831-7.
  • Glantz, David M. (September 1986). "Soviet Defensive Tactics at Kursk, July 1943" (PDF). U.S. Army Command and General Staff College. Ft. Belvoir. Soviet Army Studies Office Combined Arms Center Combat Studies Institute (CSI Report No. 11). OCLC 320412485. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-05-18. สืบค้นเมื่อ 2012-04-28.
  • Glantz, David M. (1989). Soviet Military Deception in the Second World War. London: Routledge. ISBN 978-0-7146-3347-3.
  • Glantz, David M.; House, Jonathan (1995). When Titans Clashed: How the Red Army Stopped Hitler. Lawrence, Kansas: University of Kansas Press. ISBN 978-0-7006-0899-7.
  • Glantz, David M.; Orenstein, Harold S. (1999). The Battle for Kursk 1943: The Soviet General Staff Study. London; Portland, OR: Frank Cass. ISBN 0-7146-4933-3. — This report, commissioned by the Soviet General Staff in 1944, was designed to educate the Red Army on how to conduct war operations. It was classified secret until its declassification in 1964, and was subsequently translated to English and edited by Orenstein and Glantz. Its original title was Collection of materials for the study of war experience, no. 11 (รัสเซีย: Сборник материалов по изучению опыта Великой Отечественной войны № 11, อักษรโรมัน: Sbornik materialov po izucheniiu opyta Velikoi Otechestvennoi voiny № 11)
  • Glantz, David M.; House, Jonathan M. (2004) [1999]. The Battle of Kursk. Lawrence, Kansas: University Press of Kansas. ISBN 978-070061335-9.
  • Glantz, David M. (2013). Soviet Military Intelligence in War. London: Taylor & Francis. ISBN 978-1-136-28934-7.
  • Grazhdan, Anna (director); Artem Drabkin & Aleksey Isaev (writers); Valeriy Babich, Vlad Ryashin, et al. (producers) (2011). Operation Barbarossa (television documentary). Soviet Storm: World War II in the East. Star Media. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2015. สืบค้นเมื่อ 19 March 2015.
  • Guderian, Heinz (1937). Achtung – Panzer!. Sterling Press. ISBN 0-304-35285-3.
  • Guderian, Heinz (1952). Panzer Leader. New York: Da Capo. ISBN 0-306-81101-4.
  • Hartmann, Christian (2013). Operation Barbarossa:Nazi Germany's War in the East, 1941–1945 (First ed.). Oxford: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-966078-0.
  • Healy, Mark (1992). Kursk 1943: Tide Turns in the East. London: Osprey. ISBN 978-1-85532-211-0.
  • Healy, Mark (2010). Zitadelle: The German Offensive Against the Kursk Salient 4–17 July 1943. Stroud: History Press. ISBN 978-0-7524-5716-1.
  • Jacobsen, Hans Adolf; Rohwer, Jürgen (1965). Decisive battles of World War II; the German view. New York, NY: Putnam. OCLC 1171523193.
  • Jentz, Tom; Doyle, Hillary (1993). Tiger 1 Heavy Tank 1942–45. illustrated by Sarson, Peter. Osprey Publishing. ISBN 978-1-85532-337-7.
  • Jentz, Thomas (1995). Germany's Panther Tank. Atglen: Schiffer Pub. ISBN 0-88740-812-5.
  • Kasdorf, Bruno (2000). "The Battle of Kursk – An Analysis of Strategic and Operational Principles" (PDF). U.S. Army War College. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  • Krivosheev, Grigoriy (1997). Soviet Casualties and Combat Losses in the Twentieth Century. London: Greenhill Books. ISBN 1-85367-280-7.
  • Krivosheev, Grigoriy (2001). Россия и СССР в войнах XX века: Потери вооруженных сил: Статистическое исследование [Russia and the USSR in the Wars of the 20th Century: Loss of Armed Forces: Statistical Study] (ภาษารัสเซีย). Moscow: Olma Press. ISBN 978-5-224-01515-3.
  • Koltunov, Grigoriy; Solovyev, Boris (1970). Kurskaya bitva (ภาษารัสเซีย). Moscow: Voenizdat. OCLC 1180810844.
  • Liddell Hart, Basil Henry (1948). The German Generals Talk. New York: Morrow.
  • Litvin, Nikolai; Britton, Stuart (2007). 800 Days on the Eastern Front: A Russian Soldier Remembers World War II. Modern War Studies. Lawrence, Kansas: University of Kansas Press. ISBN 978-0-7006-1517-9.
  • Willmott, Hedley Paul (1990). The Great Crusade: A new complete history of the Second World War. New York: Free Press. ISBN 9780029347157.
  • Moorhouse, Roger (2011). Berlin at war: Life and Death in Hitler's capital, 1939–45. London: Vintage. ISBN 9780099551898.
  • Muller, Richard (1992). The German Air War in Russia, 1941-1945. Baltimore: The Nautical & Aviation Publishing Company of America. ISBN 1-877853-13-5.
  • Mulligan, Timothy P. (1987). "Spies, Ciphers and 'Zitadelle': Intelligence and the Battle of Kursk, 1943". Journal of Contemporary History. 22 (2): 235–260. doi:10.1177/002200948702200203. S2CID 162709461. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-02-23. สืบค้นเมื่อ 2012-04-28.
  • Münch, Karlheinz (1997). Combat History of Schwere Panzerjäger Abteilung 653: Formerly the Sturmgeschütz Abteilung 197 1940–1942. Winnipeg: J. J. Fedorowicz Publishing. ISBN 0-921991-37-1.
  • Murray, Williamson (1983). Strategy for defeat : the Luftwaffe, 1933-1945. Maxwell Air Force Base, Ala: Air University Press.
  • Newton, Steven (2002). Kursk: The German View. Cambridge: Da Capo Press. ISBN 0-306-81150-2.
  • Nipe, George (1998). "Kursk Reconsidered: Germany's Lost Victory". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2015. สืบค้นเมื่อ 17 July 2015.
  • Nipe, George (2011). Blood, Steel, and Myth: The II. SS-Panzer-Korps and the Road to Prochorowka, July 1943. Southbury, Conn: Newbury. ISBN 978-0-9748389-4-6.
  • Overy, Richard (1995). Why the Allies Won. New York: Norton Press. ISBN 978-0-393-03925-2.
  • "Rebuilt Codebreaker Machine Cracked Nazi Secrets in World War II". Innovation News. TechMediaNetwork. 27 May 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 June 2011. สืบค้นเมื่อ 14 June 2013.
  • Searle, Alaric (2017). Armoured Warfare: A Military, Political and Global History. Bloomsbury Publishing. ISBN 978-1-4411-9813-6.
  • Showalter, Dennis E. (2013). Armor and Blood: The Battle of Kursk, The Turning Point of World War II. New York, USA: Random House. ISBN 978-1-4000-6677-3.
  • Showalter, Dennis (2013). "The Crucible". MHQ: The Quarterly Journal of Military History. 25 (3): 28–37.
  • Taylor, A.J.P; Kulish, V.M. (1974). A History of World War Two. London: Octopus Books. ISBN 0-7064-0399-1.
  • Töppel, Roman (2017). Kursk 1943: Die größte Schlacht des Zweiten Weltkriegs [Kursk 1943: The Largest Battle of the Second World War] (ภาษาเยอรมัน). Paderborn: Schöningh. ISBN 978-3-506-78187-1.
  • Weiss, Thomas J, II (2000). "Fire Support at the Battle of Kursk". Field Artillery (4). สืบค้นเมื่อ 17 June 2015.
  • Yeide, Harry (2014). Fighting Patton: George S. Patton Jr. Through the Eyes of His Enemies. Zenith Press. ISBN 978-0760345924.
  • Zamulin, Valeriy (2011). Demolishing the Myth: The Tank Battle at Prokhorovka, Kursk, July 1943: An Operational Narrative. Solihull: Helion & Company. ISBN 978-1-906033-89-7.
  • Zetterling, Niklas; Frankson, Anders (2000). Kursk 1943: A Statistical Analysis. Cass Series on the Soviet (Russian) Study of War. London: Frank Cass. ISBN 0-7146-5052-8.

แหล่งข้อมูลอื่น

51°43′N 36°11′E / 51.717°N 36.183°E / 51.717; 36.183

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง