รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ [1] (อังกฤษ: electronic government, E-government) หรือชื่ออื่นเช่น รัฐอิเล็กทรอนิกส์ รัฐบาลออนไลน์, รัฐบาลอินเทอร์เน็ต, รัฐบาลดิจิทัล เป็นการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารด้านงานบริการสาธารณะของภาครัฐ (e-Public Service)[2]

ขอบข่าย

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หรือ รัฐอิเล็กทรอนิกส์ มีขอบข่ายทั้งหมด 4 ขอบข่าย ดังนี้ [3]

  1. การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารงานระหว่างรัฐบาล สู่ หน่วยงานภาครัฐ หรือรัฐบาลของรัฐอื่น (government to governments: G2G)
  2. การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารงานระหว่างรัฐบาล สู่ ประชาชน (government to citizens: G2C)
  3. การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารงานระหว่างรัฐบาล สู่ บุคลากรในหน่วยงาน/องค์การ (government to employees: G2E)
  4. การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารงานระหว่างรัฐบาล สู่ องค์การธุรกิจ (government to businesses: G2B)

ในขอบข่ายทั้งสี่ขอบข่ายเป็นรูปแบบสำคัญของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารงานด้านงานบริการสาธารณะ ภายใต้รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องที่สำคัญนโยบายสาธารณะ และมีความสำคัญต่อการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง