หลุยส์ เดอ บรอย

หลุยส์-วิกตอร์-ปีแยร์-แรมง ดุ๊กเดอ บรอย ที่ 7 (ฝรั่งเศส: Louis-Victor-Pierre-Raymond, 7th duc de Broglie; ภาษาฝรั่งเศส: [də bʁɔj][1][2] หรือ [də bʁœj] ( ฟังเสียง); FRS; 15 สิงหาคม ค.ศ. 1892- 19 มีนาคม ค.ศ. 1987)[3] เป็นนักฟิสิกส์และนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลชาวฝรั่งเศส เป็นสมาชิกคนที่ 16 ที่ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่ง seat 1 ของบัณฑิตยสถานฝรั่งเศส เมื่อ ค.ศ. 1944 รวมถึงเป็นเลขาธิการตลอดชีพของสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งฝรั่งเศส

หลุยส์ เดอ บรอย
เดอ บรอยใน ค.ศ. 1929
เกิด15 สิงหาคม ค.ศ. 1892(1892-08-15)
เดียป ประเทศฝรั่งเศส
เสียชีวิต19 มีนาคม ค.ศ. 1987(1987-03-19) (94 ปี)
ลูฟว์เซียน ประเทศฝรั่งเศส
สัญชาติฝรั่งเศส
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยปารีส
(ศิลปศาสตร์บัณฑิตสาขาประวัติศาสตร์ ค.ศ. 1910; ศิลปศาสตร์บัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์ ค.ศ. 1913; ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาฟิสิกส์ ค.ศ. 1924)
มีชื่อเสียงจากความเป็นคลื่นของอิเล็กตรอน
ทฤษฎีเดอ บรอย–โบห์ม
ความยาวคลื่นของเดอ บรอย
รางวัลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (1929)
รางวัล Henri Poincaré (1929)
รางวัล Albert I of Monaco(1932)
รางวัลมักซ์ พลังก์ (1938)
รางวัลคาลิงกา (1952)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาฟิสิกส์
สถาบันที่ทำงานมหาวิทยาลัยปารีส (ซอร์บอนน์)
วิทยานิพนธ์Recherches sur la théorie des quanta ("Research on Quantum Theory") (1924)
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอกปอล ล็องฌ์แว็ง
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอกCécile DeWitt-Morette
Bernard d'Espagnat
ฌ็อง-ปีแยร์ วีฌีเย
อาเล็กซานดรู โปรตซา
Marie-Antoinette Tonnelat

ปี ค.ศ. 1945 เดอ บรอย ได้เป็นที่ปรึกษาของ French High Commission of Atomic Energy จากความพยายามเชื่อมโยงอุตสาหกรรมกับวิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน เขาเป็นผู้ก่อตั้งศูนย์กลศาสตร์ประยุกต์ที่ สถาบันอ็องรี ปวงกาเร เป็นแรงบันดาลใจให้ก่อตั้งสถาบันนานาชาติวิทยาการควอนตัมโมเลกุล (International Academy of Quantum Molecular Science) และได้เป็นสมาชิกชุดแรกๆ ของสถาบันนี้ เดอ บรอย ได้รับรางวัลคาลิงกา (Kalinga Prize) จากองค์การยูเนสโกเมื่อปี ค.ศ. 1952 สำหรับผลงานที่ทำให้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง เขาได้รับเลือกเป็นสมาชิกต่างชาติในราชสมาคมแห่งลอนดอนเมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1953 ปี ค.ศ. 1961 เขาได้รับบรรดาศักดิ์อัศวินแห่งแกรนด์ครอส

ผลงานทฤษฎีทางฟิสิกส์ที่สำคัญ ได้แก่

  • คุณสมบัติทวิภาคของคลื่นและอนุภาค (Matter and wave-particle duality)
  • Non-nullity and variability of mass
  • ทฤษฎีนิวตริโนของแสง

รางวัลและเกียรติยศ

งานตีพิมพ์

Ondes et mouvements, 1926
  • Recherches sur la théorie des quanta (Researches on the quantum theory), Thesis, Paris, 1924, Ann. de Physique (10) 3, 22 (1925).
  • Introduction à la physique des rayons X et gamma (Introduction to physics of X-rays and Gamma-rays), with Maurice de Broglie, Gauthier-Villars, 1928.
  • Ondes et mouvements (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: Gauthier-Villars. 1926.
  • Rapport au 5ème Conseil de Physique Solvay (Report for the 5th Solvay Physics Congress), Brussels, 1927.
  • Mecanique ondulatoire (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: Gauthier-Villars. 1928.
  • Recueil d'exposés sur les ondes et corpuscules (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: Librairie scientifique Hermann et C.ie. 1930.
  • Matière et lumière (Matter and Light), Paris: Albin Michel, 1937.
  • La Physique nouvelle et les quanta (New Physics and Quanta), Flammarion, 1937.
  • Continu et discontinu en physique moderne (Continuous and discontinuous in Modern Physics), Paris: Albin Michel, 1941.
  • Ondes, corpuscules, mécanique ondulatoire (Waves, Corpuscles, Wave Mechanics), Paris: Albin Michel, 1945.
  • Physique et microphysique (Physics and Microphysics), Albin Michel, 1947.
  • Vie et œuvre de Paul Langevin (The life and works of Paul Langevin), French Academy of Sciences, 1947.
  • Optique électronique et corpusculaire (Electronic and Corpuscular Optics), Herman, 1950.
  • Savants et découvertes (Scientists and discoveries), Paris, Albin Michel, 1951.
  • Une tentative d'interprétation causale et non linéaire de la mécanique ondulatoire: la théorie de la double solution. Paris: Gauthier-Villars, 1956.
    • English translation: Non-linear Wave Mechanics: A Causal Interpretation. Amsterdam: Elsevier, 1960.
  • Nouvelles perspectives en microphysique (New prospects in Microphysics), Albin Michel, 1956.
  • Sur les sentiers de la science (On the Paths of Science), Paris: Albin Michel, 1960.
  • Introduction à la nouvelle théorie des particules de M. Jean-Pierre Vigier et de ses collaborateurs, Paris: Gauthier-Villars, 1961. Paris: Albin Michel, 1960.
    • English translation: Introduction to the Vigier Theory of elementary particles, Amsterdam: Elsevier, 1963.
  • Étude critique des bases de l'interprétation actuelle de la mécanique ondulatoire, Paris: Gauthier-Villars, 1963.
    • English translation: The Current Interpretation of Wave Mechanics: A Critical Study, Amsterdam, Elsevier, 1964.
  • Certitudes et incertitudes de la science (Certitudes and Incertitudes of Science). Paris: Albin Michel, 1966.
  • with Louis Armand, Pierre Henri Simon and others. Albert Einstein. Paris: Hachette, 1966.
    • English translation: Einstein. Peebles Press, 1979.[5]
  • Recherches d'un demi-siècle (Research of a half-century), Albin Michel, 1976.
  • Les incertitudes d'Heisenberg et l'interprétation probabiliste de la mécanique ondulatoire (Heisenberg uncertainty and wave mechanics probabilistic interpretation), Gauthier-Villars, 1982.

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง