วิกโตร์ โอร์บาน

นักการเมืองชาวฮังการี

วิกโตร์ มิฮาย โอร์บาน (ฮังการี: Viktor Mihály Orbán,[1] ภาษาฮังการี: [ˈviktor ˈorbaːn] ( ฟังเสียง); เกิดวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2506) เป็นนักการเมืองชาวฮังการีและนายกรัฐมนตรีของฮังการีตั้งแต่ พ.ศ. 2553 ก่อนหน้านี้เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีระหว่าง พ.ศ. 2541–2545 ปัจจุบันเป็นหัวหน้าพรรคฟิแด็สซึ่งเป็นพรรคแนวอนุรักษนิยม-ชาตินิยม

วิกโตร์ โอร์บาน
MP
โอร์บานใน ค.ศ. 2018
นายกรัฐมนตรีฮังการี
เริ่มดำรงตำแหน่ง
29 พฤษภาคม 2010
ประธานาธิบดี
  • László Sólyom
  • Pál Schmitt
  • ลัซสโล คูวาร์ (รักษาการ)
  • ยาโนช อาแดร์
  • Katalin Novák (ผ่านการเลือกตั้ง)
  • ลัซสโล คูวาร์ (รักษาการ)
  • ทามาส ซูลีออค
รอง
  • Sándor Pintér
  • Zsolt Semjén
  • Mihály Varga
ก่อนหน้าGordon Bajnai
ดำรงตำแหน่ง
6 กรกฎาคม 1998 – 27 พฤษภาคม 2002
ประธานาธิบดี
  • Árpád Göncz
  • Ferenc Mádl
ก่อนหน้าGyula Horn
ถัดไปPéter Medgyessy
ประธานฟิแด็ส
เริ่มดำรงตำแหน่ง
17 พฤษภาคม 2003
ก่อนหน้าJános Áder
ดำรงตำแหน่ง
18 เมษายน 1993 – 29 มกราคม 2000
ก่อนหน้าก่อตั้งตำแหน่ง
ถัดไปLászló Kövér
สมาชิกรัฐสภา
เริ่มดำรงตำแหน่ง
2 พฤษภาคม 1990
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
วิกโตร์ มิฮาย โอร์บาน

(1963-05-31) 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1963 (60 ปี)
เซแก็ชแฟเฮร์วาร์, ฮังการี
พรรคการเมืองฟิแด็ส (1988–ปัจจุบัน)
คู่สมรสAnikó Lévai (สมรส 1986)
บุตร5, รวม Gáspár
บุพการี
  • Erzsébet Sípos
  • Győző Bálint Orbán
ที่อยู่อาศัยCarmelite Monastery of Buda
ศิษย์เก่า
  • Eötvös Loránd University (J.D.)
  • Pembroke College, Oxford
วิชาชีพทนาย
ลายมือชื่อ
เว็บไซต์เว็บไซตฺของวิกโตร์ โอร์บาน

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Bell, Imogen (2003). Central and South-Eastern Europe 2004. Routledge. ISBN 978-1857431865.
  • Fabry, Adam. "Neoliberalism, crisis and authoritarian–ethnicist reaction: The ascendancy of the Orbán regime." Competition & Change 23.2 (2019): 165–191. online[ลิงก์เสีย]
  • Lendvai, Paul (2017). Orbán: Hungary's Strongman. Oxford University Press. ISBN 978-0190874865.
  • Martens, Wilfried (2009). Europe: I Struggle, I Overcome. Springer. ISBN 978-3540892885.
  • Metz, Rudolf, and Daniel Oross. "Strong Personalities’ Impact on Hungarian Party Politics: Viktor Orbán and Gábor Vona." in Party Leaders in Eastern Europe (Palgrave Macmillan, Cham, 2020) pp. 145–170. doi:10.1007/978-3-030-32025-6_7
  • Rydliński, Bartosz. "Viktor Orbán–First among Illiberals? Hungarian and Polish Steps towards Populist Democracy." Online Journal Modelling the New Europe 26 (2018): 95–107. online[ลิงก์เสีย]
  • Szikra D. "Democracy and welfare in hard times: the social policy of the Orban Government in Hungary between 2010 and 2014" Journal of European Social Policy (2014) 24(5): 486–500.
  • Szilágyi, Anna, and András Bozóki. "Playing it again in post-communism: the revolutionary rhetoric of Viktor Orbán in Hungary." Advances in the History of Rhetoric 18.sup1 (2015): S153–S166. online
  • Toomey, Michael. "History, nationalism and democracy: myth and narrative in Viktor Orbán's ‘illiberal Hungary’." New Perspectives. Interdisciplinary Journal of Central & East European Politics and International Relations 26.1 (2018): 87–108 online[ลิงก์เสีย].

อ่านเพิ่ม

  • Hollós, János – Kondor, Katalin: Szerda reggel – Rádiós beszélgetések Orbán Viktor miniszterelnökkel, 1998. szeptember – 2000. december; ISBN 963-9337-32-3
  • Hollós, János – Kondor, Katalin: Szerda reggel – Rádiós beszélgetések Orbán Viktor miniszterelnökkel, 2001–2002; ISBN 963-9337-61-7
  • A történelem főutcáján – Magyarország 1998–2002, Orbán Viktor miniszterelnök beszédei és beszédrészletei, Magyar Egyetemi Kiadó; ISBN 963-8638-31-1
  • 20 év – Beszédek, írások, interjúk, 1986–2006, Heti Válasz Kiadó, ISBN 963-9461-22-9
  • Egy az ország. Helikon Könyvkiadó, Budapest, 2007. (translated into Polish as Ojczyzna jest jedna in 2009).
  • Rengéshullámok. Helikon Könyvkiadó, Budapest, 2010.
  • Janke, Igor: Hajrá, magyarok! – Az Orbán Viktor-sztori egy lengyel újságíró szemével Rézbong Kiadó, 2013. (อังกฤษ: Igor Janke: Forward! – The Story of Hungarian Prime Minister, Viktor Orbán, เยอรมัน: Viktor Orbán: Ein Stürmer in der Politik).

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง