กลุ่มชนอิหร่าน

กลุ่มชนอิหร่าน (อังกฤษ: Iranian peoples;[1] Iranic peoples[2][3]) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์-ภาษาอินโด-ยูโรเปียนจำนวนมาก[1][4] ที่ระบุด้วยการใช้ภาษากลุ่มอิหร่านและวัฒนธรรมอื่นที่คล้าย ๆ กัน

กลุ่มชนอิหร่าน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
เอเชียตะวันตก, อานาโตเลีย, คอเคซัส, ออสซีเชีย, เอเชียกลาง, เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และซินเจียงตะวันตก
(อดีตรวม: ยุโรปตะวันออก)
ภาษา
กลุ่มภาษาอิหร่าน สาขาในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน
ศาสนา
ส่วนใหญ่: อิสลาม (ซุนนีและชีอะฮ์) ส่วนน้อย: คริสต์ (อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์, Nestorian, โปรเตสแตนต์ และโรมันคาทอลิก), ไม่มีศาสนา, โซโรอัสเตอร์, ยูดาห์, บาไฮ, Uatsdin, ลัทธิยาร์ซาน, อเทวนิยม และลัทธิยาซีดี
(อดีตรวม: ศาสนามาณีกีและพุทธ)

เชื่อว่าอิหร่านดั้งเดิมถูกรวมมาจากสาขาต่างหากของภาษากลุ่มอินโด-อิเรเนียนในเอเชียกลางช่วงกลางสหัสวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราช[5][6] ในช่วงสูงสุดตอนกลางสหัสวรรษที่ 1 ก่อนคริสต์ศักราช ดินแดนของกลุ่มชนอิหร่านขยายไปถึงยูเรเชียสเตปป์ทั้งหมดจากที่ราบใหญ่ฮังการีทางตะวันตกถึงที่ราบสูงออร์ดอสทางตะวันออก และที่ราบสูงอิหร่านทางใต้[7] จักรวรรดิอิหร่านตะวันตกทางใต้ครอบครองพื้นที่โลกเก่าจำนวนมากในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราช ทำให้มีการสืบทอดวัฒนธรรมสำคัญ และอิหร่านตะวันออกแถบสเตปป์มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาการเป็นชนร่อนเร่ยูเรเชียและเส้นทางสายไหม[8][5]

ในคริสต์สหัสวรรษที่ 1 พื้นที่อยู่อาศัยของกลุ่มชนนี้ส่วนใหญ่ที่อยู่ในพื้นที่สเตปป์และทะเลทรายของยูเรเชีย[9] ลดลงจากการขยายตัวของชาวสลาฟ, เจอร์แมนิก, เตอร์กิก และมองโกล และมีหลายกลุ่มที่ถูกแผลงเป็นสลาฟ[10][11][12][13] และเติร์ก[14][15] กลุ่มชนอิหร่านในปัจจุบันมีทั้งบาลอจ, กีแลก, เคิร์ด, ลูร์, มอแซนเดรอน, ออสซีเชีย, พอมีรี, ปาทาน, เปอร์เซีย, ตัต, ทาจิก, ทอลิช, วาคี, ยัฆโนบี และซาซา กลุ่มชนในปัจจุบันอาศัยทั่วที่ราบสูงอิหร่าน ตั้งแต่คอเคซัสทางเหนือถึงอ่าวเปอร์เซียทางใต้ และประเทศตุรกีทางตะวันออกจนถึงซินเจียงตะวันออกทางตะวันออก[16]—บางครั้งมีการเรียกภูมิภาคนี้ว่า ทวีปทางวัฒนธรรมอิหร่าน (Iranian Cultural Continent) ซึ่งนำเสนอถึงบริเวณไกลสุดของผู้พูดภาษาอิหร่านและอิทธิพลที่สำคัญของกลุ่มชนอิหร่านผ่านการเข้าถึงทางภูมิรัฐศาสตร์ของเกรตเตอร์อิหร่าน[17]

อ้างอิง

ข้อมูล

  • Anthony, David W. (2007). The Horse, The Wheel, and Language: How Bronze-Age Riders From the Eurasian Steppes Shaped The Modern World. Princeton University Press.
  • Anthony, D. W. (2009). "The Sintashta Genesis: The Roles of Climate Change, Warfare, and Long-Distance Trade". ใน Hanks, B.; Linduff, K. (บ.ก.). Social Complexity in Prehistoric Eurasia: Monuments, Metals, and Mobility. Cambridge University Press. pp. 47–73. doi:10.1017/CBO9780511605376.005. ISBN 978-0-511-60537-6.
  • Banuazizi, Ali and Weiner, Myron (eds.). The State, Religion, and Ethnic Politics: Afghanistan, Iran, and Pakistan (Contemporary Issues in the Middle East), Syracuse University Press (August 1988). ISBN 0-8156-2448-4.
  • Beckwith, Christopher I. (16 March 2009). Empires of the Silk Road: A History of Central Eurasia from the Bronze Age to the Present. Princeton University Press. ISBN 978-0691135892. สืบค้นเมื่อ 29 May 2015.
  • Burrow, T. (1973), "The Proto-Indoaryans", Journal of the Royal Asiatic Society of Great Britain and Ireland, 105 (2): 123–140, doi:10.1017/S0035869X00130837, JSTOR 25203451
  • Canfield, Robert (ed.). Turko-Persia in Historical Perspective, Cambridge University Press, Cambridge (2002). ISBN 0-521-52291-9
  • Chopra, R. M.,"Indo-Iranian Cultural Relations Through The Ages", Iran Society, Kolkata, 2005.
  • Curzon, R. The Iranian People of the Caucasus. ISBN 0-7007-0649-6.
  • Derakhshani, Jahanshah. Die Arier in den nahöstlichen Quellen des 3. und 2. Jahrtausends v. Chr., 2nd edition (1999). ISBN 964-90368-6-5.
  • Diakonoff, Igor M.; Kuz'mina, E. E.; Ivantchik, Askold I. (1995). "Two Recent Studies of Indo-Iranian Origins". Journal of the American Oriental Society. American Oriental Society. 115 (3): 473–477. doi:10.2307/606224. JSTOR 606224.
  • Frye, Richard, Greater Iran, Mazda Publishers (2005). ISBN 1-56859-177-2.
  • Frye, Richard. Persia, Schocken Books, Zurich (1963). ASIN B0006BYXHY.
  • Hanks, B.; Linduff, K. (2009). "Late Prehistoric Mining, Metallurgy, and Social Organization in North Central Eurasia". ใน Hanks, B.; Linduff, K. (บ.ก.). Social Complexity in Prehistoric Eurasia: Monuments, Metals, and Mobility. Cambridge University Press. pp. 146–167. doi:10.1017/CBO9780511605376.005. ISBN 978-0-511-60537-6.
  • Harmatta, János (1992). "The Emergence of the Indo-Iranians: The Indo-Iranian Languages" (PDF). ใน Dani, A. H.; Masson, V. M. (บ.ก.). History of Civilizations of Central Asia: The Dawn of Civilization: Earliest Times to 700 B. C. UNESCO. pp. 346–370. ISBN 978-92-3-102719-2. สืบค้นเมื่อ 29 May 2015.
  • Kennedy, Hugh. The Prophet and the Age of the Caliphates, Longman, New York, NY (2004). ISBN 0-582-40525-4
  • Khoury, Philip S. & Kostiner, Joseph. Tribes and State Formation in the Middle East, University of California Press (1991). ISBN 0-520-07080-1.
  • Koryakova, L. (1998a). "Sintashta-Arkaim Culture". The Center for the Study of the Eurasian Nomads (CSEN). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-28. สืบค้นเมื่อ 16 September 2010.
  • Koryakova, L. (1998b). "An Overview of the Andronovo Culture: Late Bronze Age Indo-Iranians in Central Asia". The Center for the Study of the Eurasian Nomads (CSEN). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-28. สืบค้นเมื่อ 16 September 2010.
  • Kuznetsov, P.F. (September 2006). "The emergence of Bronze Age chariots in eastern Europe". Antiquity. 80 (309): 638–645. doi:10.1017/S0003598X00094096. S2CID 162580424.
  • Mallory, J.P. (1989). In Search of the Indo-Europeans: Language, Archaeology, and Myth. London: Thames & Hudson..
  • Mallory, J. P. (1997). Encyclopedia of Indo-European Culture. Taylor & Francis. ISBN 978-1884964985. สืบค้นเมื่อ 15 February 2015.
  • Mallory, J. P.; Mair, Victor H. (2008). The Tarim Mummies: Ancient China and the Mystery of the Earliest Peoples from the West. Thames & Hudson. ISBN 9780500283721.
  • McDowall, David. A Modern History of the Kurds, I.B. Tauris, 3rd Rev edition (2004). ISBN 1-85043-416-6.
  • Nassim, J. Afghanistan: A Nation of Minorities, Minority Rights Group, London (1992). ISBN 0-946690-76-6.
  • Parpola, Asko (1999). "The formation of the Aryan branch of Indo-European". ใน Blench, Roger; Spriggs, Matthew (บ.ก.). Archaeology and Language. Vol. III: Artefacts, languages and texts. London and New York: Routledge..
  • Iran Nama, (Iran Travelogue in Urdu) by Hakim Syed Zillur Rahman, Tibbi Academy, Aligarh, India (1998).
  • Riasanovsky, Nicholas. A History of Russia, Oxford University Press, Oxford (2004). ISBN 0-19-515394-4.
  • Sims-Williams, Nicholas. Indo-Iranian Languages and People, British Academy (2003). ISBN 0-19-726285-6.
  • Schenker, Alexander M. (2008). "Proto-Slavonic". ใน Comrie, Bernard; Corbett, Greville G. (บ.ก.). The Slavonic Languages. Routledge. pp. 60–121. ISBN 978-0-415-28078-5.
  • Sussex, Roland; Cubberley, Paul (2011). The Slavic Languages. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-29448-5.
  • Waldman, Carl; Mason, Catherine (2006). Encyclopedia of European Peoples. Infobase Publishing. ISBN 978-1438129181. สืบค้นเมื่อ 16 January 2015.

อ่านเพิ่ม

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง