ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรยุโรปและอเมริกาใต้

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรยุโรปและอเมริกาใต้ (อังกฤษ: European/South American Cup) หรือ อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ (Intercontinental Cup)[1][2][3] ได้เริ่มแข่งขันกันเมื่อปี ค.ศ. 1960 เป็นรายการการแข่งขันฟุตบอลที่จัดขึ้นโดยสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) และสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (คอนเมบอล) โดยจะเป็นการพบกันระหว่างทีมแชมป์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกจากทวีปยุโรป กับทีมแชมป์โกปาลิเบร์ตาโดเรสจากทวีปอเมริกาใต้ ในช่วงแรกปี ค.ศ. 1960-1979 ระบบการแข่งขันของรายการนี้จะเป็นแบบ 2 นัด เหย้า-เยือน (ในช่วงปี ค.ศ. 1960-1968 จะตัดสินด้วยคะแนนจากการพบกันสองนัด ตามแบบที่คอนเมบอลใช้กันถึงปี ค.ศ. 1987 จากนั้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1969-1979 จึงเปลี่ยนมาใช้วิธีการรวมผลสกอร์ 2 นัด ด้วยกฎการยิงประตูในฐานะทีมเยือนแบบยุโรปแทน) จากนั้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980-2004 ได้เปลี่ยนมาเป็นการแข่งขันแบบนัดเดียวที่ประเทศญี่ปุ่น โดยมีสปอนเซอร์สนับสนุนหลักคือ โตโยต้า คนส่วนใหญ่จึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อการแข่งขันรายการนี้ว่า โตโยต้าคัพ ต่อมาในปี ค.ศ. 2005 อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพได้ถูกแทนที่โดยฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ

อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรยุโรป/อเมริกาใต้
โตโยต้าคัพ
ถ้วยรางวัลที่มอบให้กับผู้ชนะ
ผู้จัดยูฟ่าและคอนเมบอล
ก่อตั้งค.ศ. 1960
ยกเลิกค.ศ. 2004
ภูมิภาคยุโรป
อเมริกาใต้
จำนวนทีม2
ทีมชนะเลิศล่าสุดโปรตุเกส โปร์ตู
(2 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดอุรุกวัย เปญญาโรล
อุรุกวัย นาซิโอนัล
อิตาลี เอซี มิลาน
สเปน เรอัลมาดริด
อาร์เจนตินา โบกายูนิออร์ส

(3 สมัย)

การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ

หมายเหตุ
การแข่งขันชนะในช่วงหลังต่อเวลาพิเศษ
การแข่งขันชนะในช่วงการดวลลูกโทษ
การแข่งขันแบบเพลย์ออฟที่ทีมถูกผูกคะแนน (1 ชนะ และ 1 แพ้แต่ละครั้ง)
#ยุโรป ทีมตัวแทนแข่งขันแทนที่แชมป์ยุโรป
ปีประเทศชนะเลิศผลคะแนนรองชนะเลิศประเทศสนามเมืองอ้างอิง
1960  สเปนเรอัลมาดริด0–0เปญญาโรล  อุรุกวัยเอสตาดิโอเซนเตนาริโอมอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย[4]
5–1ซานเตียโก เบร์นาเบวมาดริด, สเปน
1961  อุรุกวัยเปญญาโรล0–1ไบฟีกา  โปรตุเกสอิชตาดีอูดาลุชลิสบอน, โปรตุเกส[5]
5–0เอสตาดิโอเซนเตนาริโอมอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย
2–1มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย
1962  บราซิลซังตุส3–2ไบฟีกา  โปรตุเกสมารากานังรีโอเดจาเนโร, บราซิล[6]
5–2อิชตาดีอูดาลุชลิสบอน, โปรตุเกส
1963  บราซิลซังตุส2–4เอซี มิลาน  อิตาลีซานซีโรมิลาน, อิตาลี[7]
4–2มารากานังรีโอเดจาเนโร, บราซิล
1–0
1964  อิตาลีอินเตอร์มิลาน0–1อินเดเปนดิเอนเต  อาร์เจนตินาลาโดเบลบิเซราอาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา[8]
2–0ซานซีโรมิลาน, อิตาลี
1–0
(ต่อเวลา)
ซานเตียโก เบร์นาเบวมาดริด, สเปน
1965  อิตาลีอินเตอร์มิลาน3–0อินเดเปนดิเอนเต  อาร์เจนตินาซานซีโรมิลาน, อิตาลี[9]
0–0ลาโดเบลบิเซราอาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา
1966  อุรุกวัยเปญญาโรล2–0เรอัลมาดริด  สเปนเอสตาดิโอเซนเตนาริโอมอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย[10]
2–0ซานเตียโก เบร์นาเบวมาดริด, สเปน
1967  อาร์เจนตินาราซินกลุบ0–1เซลติก  สกอตแลนด์แฮมป์เดินพาร์กกลาสโกว์, สกอตแลนด์[11]
2–1เอลซิลินโดรอาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา
1–0เอสตาดิโอเซนเตนาริโอมอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย
1968  อาร์เจนตินาเอสตูเดียนเตส1–0แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด  อังกฤษลาบอมโบเนราบัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา[12]
1–1โอลด์แทรฟฟอร์ดแมนเชสเตอร์, อังกฤษ
1969  อิตาลีเอซี มิลาน3–0เอสตูเดียนเตส  อาร์เจนตินาซานซีโรมิลาน, อิตาลี[13]
1–2ลาบอมโบเนราบัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา
1970  เนเธอร์แลนด์ไฟเยอโนร์ด2–2เอสตูเดียนเตส  อาร์เจนตินาลาบอมโบเนราบัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา[14]
1–0เดอเกยป์ร็อตเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์
1971  อุรุกวัยนาซิโอนัล1–1ปานาซีไนโกส#1  กรีซกาไรสกากิสไพรีอัส, กรีซ[15]
2–1  กรีซเอสตาดิโอเซนเตนาริโอมอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย
1972  เนเธอร์แลนด์อายักซ์1–1อินเดเปนดิเอนเต  อาร์เจนตินาลาโดเบลบิเซราอาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา[16]
3–0โอลิมปิก (อัมสเตอร์ดัม)อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์
1973  อาร์เจนตินาอินเดเปนดิเอนเต1–0ยูเวนตุส#2  อิตาลีสตาดีโอโอลิมปีโกโรม, อิตาลี[17]
ไม่มีการแข่งขันนัดที่สอง อินเดเปนดิเอนเต เป็นทีมชนะเลิศ
1974  สเปนอัตเลติโกเดมาดริด#30–1อินเดเปนดิเอนเต  อาร์เจนตินาลาโดเบลบิเซราอาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา[18]
2–0บิเซนเต กัลเดรอนมาดริด, สเปน
1975
ไบเอิร์นมิวนิก และ อินเดเปนดิเอนเต ไม่มีวันเวลากำหนดการแข่งขันที่พบกันได้
[19]
1976  เยอรมนีตะวันตกไบเอิร์นมิวนิก2–0กรูเซย์รู  บราซิลโอลึมพีอาชตาดีอ็อนมิวนิก, เยอรมนีตะวันตก[20]
0–0มีเนย์เราเบโลโอรีซอนชี, บราซิล
1977  อาร์เจนตินาโบกายูนิออร์ส2–2โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค#4  เยอรมนีตะวันตกลาบอมโบเนราบัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา[21]
3–0วิลท์พาร์คชตาดีอ็อนคาลส์รูเออ, เยอรมนีตะวันตก
1978
ลิเวอร์พูล และ โบกายูนิออร์ส ปฏิเสธที่จะแข่งขันกัน
[19]
1979  ปารากวัยโอลิมเปีย1–0มัลเมอ เอฟเอฟ#5  สวีเดนมัลเมอมัลเมอ, สวีเดน[22]
2–1เดเฟนโซเรสเดลชาโกอาซุนซีออน, ปารากวัย
1980  อุรุกวัยนาซิโอนัล1–0นอตทิงแฮมฟอเรสต์  อังกฤษโอลิมปิก (โตเกียว)โตเกียว, ญี่ปุ่น[23]
1981  บราซิลฟลาเม็งกู3–0ลิเวอร์พูล[24]
1982  อุรุกวัยเปญญาโรล2–0แอสตันวิลลา[25]
1983  บราซิลเกรมียู2–1
(ต่อเวลา)
ฮัมบวร์ค  เยอรมนีตะวันตก[26]
1984  อาร์เจนตินาอินเดเปนดิเอนเต1–0ลิเวอร์พูล  อังกฤษ[27]
1985  อิตาลียูเวนตุส2–2
(ต่อเวลา)
4–2
(ลูกโทษ)
อาร์เฆนติโนสยูนิออร์ส  อาร์เจนตินา[28]
1986  อาร์เจนตินาริเบร์เปลต1–0เรดสตาร์ เบลเกรด  โรมาเนีย[29]
1987  โปรตุเกสโปร์ตู2–1
(ต่อเวลา)
เปญญาโรล  อุรุกวัย[30]
1988  อุรุกวัยนาซิโอนัล2–2
(ต่อเวลา)
7–6
(ลูกโทษ)
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน  เนเธอร์แลนด์[31]
1989  อิตาลีเอซี มิลาน1–0
(ต่อเวลา)
อัตเลติโกนาซิโอนัล  โคลอมเบีย[32]
1990  อิตาลี3–0โอลิมเปีย  ปารากวัย[33]
1991  ยูโกสลาเวียเรดสตาร์ เบลเกรด3–0โกโล-โกโล  ชิลี[34]
1992  บราซิลเซาเปาลู2–1บาร์เซโลนา  สเปน[35]
1993  บราซิลเซาเปาลู3–2เอซี มิลาน#6  อิตาลี[36]
1994  อาร์เจนตินาเบเลซ ซาร์สฟิลด์2–0เอซี มิลาน[37]
1995  เนเธอร์แลนด์อายักซ์0–0
(ต่อเวลา)
4–3
(ลูกโทษ)
อาแลเกร็งซี  บราซิล[38]
1996  อิตาลียูเวนตุส1–0ริเบร์เปลต  อาร์เจนตินา[39]
1997  เยอรมนีโบรุสซีอาดอร์ทมุนท์2–0กรูเซย์รู  บราซิล[40]
1998  สเปนเรอัลมาดริด2–1วัชกู ดา กามา[41]
1999  อังกฤษแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด1–0ปัลเมย์รัส[42]
2000  อาร์เจนตินาโบกายูนิออร์ส2–1เรอัลมาดริด  สเปน[43]
2001  เยอรมนีไบเอิร์นมิวนิก1–0
(ต่อเวลา)
โบกายูนิออร์ส  อาร์เจนตินา[44]
2002  สเปนเรอัลมาดริด2–0โอลิมเปีย  ปารากวัยอินเตอร์เนชันแนลสเตเดียมโยโกฮามะ, ญี่ปุ่น[45]
2003  อาร์เจนตินาโบกายูนิออร์ส1–1
(ต่อเวลา)
3–1
(ลูกโทษ)
เอซี มิลาน  อิตาลี[46]
2004  โปรตุเกสโปร์ตู0–0
(ต่อเวลา)
8–7
(ลูกโทษ)
ออนเซกัลดัส  โคลอมเบีย[47]

ทำเนียบผู้ชนะเลิศ

ชนะเลิศ (จำแนกตามสโมสร)

สโมสรชนะเลิศรองชนะเลิศปีชนะเลิศปีรองชนะเลิศ
เอซี มิลาน
3
4
1969, 1989, 19901963, 1993, 1994, 2003
เปญญาโรล
3
2
1961, 1966, 19821960, 1987
เรอัลมาดริด
3
2
1960, 1998, 20021966, 2000
โบกายูนิออร์ส
3
1
1977, 2000, 20032001
นาซิโอนัล
3
1971, 1980, 1988
อินเดเปนดิเอนเต
2
4
1973, 19841964, 1965, 1972, 1974
ยูเวนตุส
2
1
1985, 19961973
ซังตุส
2
1962, 1963
อินเตอร์มิลาน
2
1964, 1965
เซาเปาลู
2
1992, 1993
อายักซ์
2
1972, 1995
ไบเอิร์นมิวนิก
2
1976, 2001
โปร์ตู
2
1987, 2004
เอสตูเดียนเตส
1
2
19681969, 1970
โอลิมเปีย
1
2
19791990, 2002
อาแลเกร็งซี
1
1
19831995
ริเบร์เปลต
1
1
19861996
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1
1
19991968
ราซินกลุบ
1
1967
ไฟเยอโนร์ด
1
1970
อัตเลติโกเดมาดริด
1
1974
ฟลาเม็งกู
1
1981
เรดสตาร์ เบลเกรด
1
1991
เบเลซ ซาร์สฟิลด์
1
1994
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
1
1997
ไบฟีกา
2
1961, 1962
ลิเวอร์พูล
2
1981, 1984
กรูเซย์รู
2
1976, 1997
เซลติก
1
1967
ปานาซีไนโกส
1
1971
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
1
1977
มัลเมอ เอฟเอฟ
1
1979
นอตทิงแฮมฟอเรสต์
1
1980
แอสตันวิลลา
1
1982
ฮัมบัวร์เกอร์ เอ็สเฟา
1
1983
อาร์เฆนติโนสยูนิออร์ส
1
1985
สเตอัวบูคูเรสตี
1
1986
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน
1
1988
อัตเลติโกนาซิโอนัล
1
1989
โกโล-โกโล
1
1991
บาร์เซโลนา
1
1992
วัชกู ดา กามา
1
1998
ปัลเมย์รัส
1
1999
ออนเซกัลดัส
1
2004

ชนะเลิศ (จำแนกตามชาติ)

ชาติชนะเลิศรองชนะเลิศทีมชนะเลิศปีที่ชนะเลิศ
 อาร์เจนตินา
9
9
โบกายูนิออร์ส, อินเดเปนดิเอนเต, เอสตูเดียนเตส, ริเบร์เปลต, ราซินกลุบ, เบเลซ ซาร์สฟิลด์1967, 1968, 1973, 1977, 1984, 1986, 1994, 2000, 2003
 อิตาลี
7
5
เอซี มิลาน, ยูเวนตุส, อินเตอร์มิลาน1964, 1965, 1969, 1985, 1989, 1990, 1996
 บราซิล
6
5
ซังตุส, เซาเปาลู, อาแลเกร็งซี, ฟลาเม็งกู1962, 1963, 1981, 1983, 1992, 1993
 อุรุกวัย
6
2
เปญญาโรล, นาซิโอนัล1961, 1966, 1971, 1980, 1982, 1988
 สเปน
4
3
เรอัลมาดริด, อัตเลติโกเดมาดริด1960, 1974, 1998, 2002
 เยอรมนี
3
2
ไบเอิร์นมิวนิก, โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์1976, 1997, 2001
 เนเธอร์แลนด์
3
1
อายักซ์, ไฟเยอโนร์ด1970, 1972, 1995
 โปรตุเกส
2
2
โปร์ตู1987, 2004
 อังกฤษ
1
5
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด1999
 ปารากวัย
1
2
โอลิมเปีย1979
ยูโกสลาเวีย
1
เรดสตาร์ เบลเกรด1991
 โคลอมเบีย
2
 สกอตแลนด์
1
 กรีซ
1
 สวีเดน
1
 โรมาเนีย
1
 ชิลี
1

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง