ประเทศไทยใน พ.ศ. 2565

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2565 (ค.ศ. 2022) ในประเทศไทย

ประเทศไทย
ใน พ.ศ.
2565
ดูเพิ่ม:

ผู้นำ

เหตุการณ์

มกราคม

แผนที่ยอดผู้ติดเชื้อใหม่รายจังหวัดในการระบาดซึ่งเริ่มในเดือนมกราคม 2565

กุมภาพันธ์

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565

มิถุนายน

กรกฎาคม

และแมวจำนวนมาก [37]

  • 21 กรกฎาคม – การระบาดของฝีดาษลิง พ.ศ. 2565: พบผู้ป่วยฝีดาษลิงเป็นรายแรกของประเทศไทยที่จังหวัดภูเก็ต[38]
  • 19 กรกฎาคม – มีการยอมรับว่าราชการไทยมีการใช้งานสปายแวร์เพกาซัส หลังมีรายงานว่าพบในโทรศัพท์ของกลุ่มผู้ประท้วงต่อต้านรัฐบาล[39]
  • 19–23 กรกฎาคม – การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2565: สภาผู้แทนราษฎรลงมติไว้วางใจคณะรัฐมนตรี[40] แต่ธรรมนัส พรหมเผ่า เปิดเผยหลักฐานว่ามีการแลกเปลี่ยนยศตำแหน่งกับการให้ลงมติไว้วางใจ[41]
  • 26 กรกฎาคม–6 สิงหาคม – ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยอาเซียน 2022 ณ จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเลื่อนมาจากกำหนดการเดิมเมื่อ พ.ศ. 2563 การแข่งขันครั้งนี้ทีมชาติไทยสามารถคว้าเหรียญทองได้เป็นอันดับที่ 1

สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

  • 1 ตุลาคม – การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศไทย: รัฐบาลยกเลิกการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมระยะเวลาในการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั้งสิ้น 2 ปี 6 เดือน[52]
  • 6 ตุลาคม – เกิดเหตุกราดยิงที่จังหวัดหนองบัวลำภู ทำให้มีผู้เสียชีวิต 38 ราย[53](รวมผู้ก่อเหตุ) และบาดเจ็บ 10 ราย[54] ทำให้เกิดการตั้งคำถามถึงระบบภายในองค์กรตำรวจ ปัญหายาเสพติด ระบบการเตือนภัย ตลอดจนความปลอดภัยของประชาชน[55]
  • 10 ตุลาคม – เกิดอุทกภัยในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเป็นครั้งที่ร้ายแรงที่สุดในรอบ 44 ปี[56]
  • 20 ตุลาคม – กสทช. มีมติรับทราบการควบรวมกิจการระหว่างทรูกับดีแทค ซึ่งจะทำให้บริษัทโทรคมนาคมรายใหญ่ของประเทศลดลงจาก 3 รายเหลือ 2 ราย[57]

พฤศจิกายน

  • 18–19 พฤศจิกายน
    • ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดผู้นำเขตเศรษฐกิจเอเปค 2022 ที่กรุงเทพมหานคร[58]
  • 18 พฤศจิกายน – การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2565​: ตำรวจควบคุมฝูงชนใช้กำลังสลายการชุมนุมผู้ประท้วงที่เดินขบวนเรียกร้องต่อกลุ่มผู้นำประเทศเอเปค เบื้องต้นมีผู้ประท้วงได้รับบาดเจ็บ 5 ราย โดยมีผู้ชุมนุมคนหนึ่งถูกยิงด้วยกระสุนยางและตาบอดเนื่องจากดวงตาสลายจากแรงกระสุน[59] ตำรวจอ้างว่าได้รับบาดเจ็บ 5 ราย และผู้ถูกจับกุม 25 ราย[60]

ธันวาคม

  • 15 ธันวาคม – ส.ส. 31 คนจากพรรคต่าง ๆ ลาออกจากตำแหน่ง ส.ส. และพรรคเดิมเพื่อไปสังกัดพรรคภูมิใจไทย[61]
  • 18 ธันวาคม – เรือหลวงสุโขทัยล่มในอ่าวไทยเนื่องจากพายุ[62] กำลังพลเสียชีวิต 24 นาย สูญหาย 5 นาย[63]

ผู้เสียชีวิต

มกราคม

ศรเพชร ศรสุพรรณ
ไวพจน์ เพชรสุพรรณ

กุมภาพันธ์

เศรษฐา ศิระฉายา
พิชัย รัตตกุล

มีนาคม

สรพงศ์ ชาตรี
สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)
วัฒน์ วรรลยางกูร

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

กรกฎาคม

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี

สิงหาคม

สมบัติ เมทะนี

กันยายน

มารุต บุนนาค

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

เชิงอรรถ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: หน้าหลักสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024บางกอกคณิกาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เนติพร เสน่ห์สังคมวิทยาศาสตร์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)วันวิสาขบูชาวอลเลย์บอลลมเล่นไฟตารางธาตุอันดับโลกเอฟไอวีบีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์หมวดหมู่:จังหวัดของประเทศไทยไลเกอร์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยไอแซก นิวตันศาสนาพุทธราชวงศ์จักรีกาลิเลโอ กาลิเลอีประวัติศาสตร์ชาร์เลท วาศิตา แฮเมเนารายชื่อเครื่องดนตรีจังหวัดชัยนาทสังคายนาในศาสนาพุทธประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดนิวแคลิโดเนียวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยศาสนาพุทธในประเทศพม่าพระสุนทรโวหาร (ภู่)นริลญา กุลมงคลเพชร