สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25 (24​ มีนาคม​ พ.ศ. 2562​ – 20 มีนาคม พ.ศ. 2566) เป็นสภาล่างของรัฐสภาหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ประกอบด้วยสมาชิก (ส.ส.) 500 คน 350 คนเป็นผู้แทนเขตเลือกตั้งทั้ง 350 เขตตามระบบจัดสรรปันส่วนผสม ซึ่งลดจำนวนลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และอีก 150 คนมาจากระบบบัญชีรายชื่อที่ใช้สูตรที่นั่งปรับระดับ (leveling seat) ในบรรดา ส.ส. ที่ได้รับเลือกตั้ง มีถึง 250 คนที่ไม่เคยได้รับเลือกตั้งมาก่อน และสภาฯ ชุดนี้ยังมีพรรคการเมือง 25 พรรค ซึ่งนับว่ามากที่สุดเป็นประวัติการณ์

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25
ชุดที่ 24 ชุดที่ 26
ห้องประชุมสัปปายะสภาสถาน
ภาพรวม
เขตอำนาจประเทศไทย
ที่ประชุมสัปปายะสภาสถาน
วาระ24 มีนาคม 2562 – 20 มีนาคม 2566
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีประยุทธ์ 2
ฝ่ายค้านพรรคเพื่อไทย และพรรคร่วมฝ่ายค้านอีก 5 พรรค
สภาผู้แทนราษฎร
สมาชิก500
ประธานชวน หลีกภัย
รองประธานคนที่ 1สุชาติ ตันเจริญ
รองประธานคนที่ 2ศุภชัย โพธิ์สุ
นายกรัฐมนตรีประยุทธ์ จันทร์โอชา
ผู้นำฝ่ายค้านสมพงษ์ อมรวิวัฒน์
จนถึง 28 ตุลาคม 2564
ชลน่าน ศรีแก้ว
ตั้งแต่ 23 ธันวาคม 2564
พรรคครองพรรคพลังประชารัฐ
สมัยประชุม
ที่ 124 พฤษภาคม – 18 กันยายน 2562
ที่ 21 พฤศจิกายน 2562 – 28 กุมภาพันธ์ 2563
ที่ 322 พฤษภาคม – 24 กันยายน 2563
ที่ 41 พฤศจิกายน 2563 – 28 กุมภาพันธ์ 2564
ที่ 522 พฤษภาคม – 18 กันยายน 2564
ที่ 61 พฤศจิกายน 2564 – 28 กุมภาพันธ์ 2565
ที่ 722 พฤษภาคม – 19 กันยายน 2565
ที่ 82 พฤศจิกายน 2565 – 28 กุมภาพันธ์ 2566
สมัยประชุมวิสามัญ
ที่ 117 – 20 ตุลาคม 2562
ที่ 226 – 27 ตุลาคม 2563
ที่ 317 – 18 มีนาคม 2564
ที่ 47 – 8 เมษายน 2564

มีรัฐพิธีเปิดประชุมรัฐสภาเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2562 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้รับมติเลือกให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อ โดยได้รับการสนับสุนนจากพรรคการเมือง 19 พรรค ทีแรกสื่อคาดกันว่ารัฐบาลผสมดังกล่าวจะมีความอ่อนแอเพราะมีคะแนนเสียงห่างจากพรรคร่วมฝ่ายค้านไม่มากนัก และมีโอกาสล้มได้หากแพ้เสียงในกฎหมายสำคัญ อย่างไรก็ตาม สมาชิกของ ส.ส. ฝ่ายรัฐบาลเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากมี ส.ส. พรรคร่วมฝ่ายค้านหลายคนหันไปเข้ากับฝ่ายรัฐบาลแทน

สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2566

เหตุการณ์สำคัญ

กฎหมายสำคัญ

ร่างกฎหมาย

  • ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิมเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ [หรือกฎหมายสมรสเท่าเทียม]
  • ร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิต[10]
  • ร่างพระราชบัญญัติกัญชา กัญชง

องค์ประกอบของสภา

สภาผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 500 ที่นั่ง

พรรคจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ผลการเลือกตั้งณ วันสิ้นอายุสภา
เพื่อไทย136118
พลังประชารัฐ11573
ภูมิใจไทย5163
ประชาธิปัตย์5248
ก้าวไกล-44
ชาติไทยพัฒนา1011
เสรีรวมไทย1010
ประชาชาติ77
เศรษฐกิจใหม่66
เพื่อชาติ56
พลังท้องถิ่นไท35
รวมพลัง54
ชาติพัฒนากล้า33
รวมไทยสร้างชาติ-3
โอกาสไทย
(เดิมชื่อ รักษ์ผืนป่าประเทศไทย)
22
พลังปวงชนไทย11
พลังชาติไทย11
ประชาภิวัฒน์11
ไทยศรีวิไลย์11
ครูไทยเพื่อประชาชน11
ประชาธิปไตยใหม่11
พลังธรรมใหม่11
อนาคตใหม่80-
เศรษฐกิจไทย--
ไทรักธรรม1-
ประชาธรรมไทย1-
ประชานิยม1-
ประชาชนปฏิรูป1-
เพื่อชาติไทย1-
พลเมืองไทย1-
รวม500410
ว่าง-90

รายชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ

ได้รับการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งนับถึงวันยุบสภา
พ้นจากตำแหน่ง
ได้รับเลื่อนขึ้นมาภายหลัง

มีรายชื่อดังนี้[11]

พรรคก้าวไกล (31)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
- วรรณวิภา ไม้สนย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / หยุดปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งศาลรัฐธรรมนูญ / พ้นจากตำแหน่ง[12]
- พิจารณ์ เชาวพัฒนวงศ์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- อภิชาติ ศิริสุนทรย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ศิริกัญญา ตันสกุลย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- รังสิมันต์ โรมย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- วินท์ สุธีรชัยย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / ลาออกจากพรรค 6 ตุลาคม 2564[13]
- สุเทพ อู่อ้นย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ปริญญา ช่วยเกตุ คีรีรัตน์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ณัฐพล สืบศักดิ์วงศ์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- คารม พลพรกลางย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / ลาออก 15 ธันวาคม 2565
- สมชาย ฝั่งชลจิตรย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- วาโย อัศวรุ่งเรืองย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- คำพอง เทพาคำย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- อมรัตน์ โชคปมิตต์กุลย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- พลตำรวจตรี สุพิศาล ภักดีนฤนาถย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- นิติพล ผิวเหมาะย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- วิโรจน์ ลักขณาอดิศรย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / ลาออก 3 กุมภาพันธ์ 2565 [14]
- ปกรณ์วุฒิ อุดมพิพัฒน์สกุลย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- วรภพ วิริยะโรจน์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- กัญจน์พงศ์ จงสุทธนามณีย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- เบญจา แสงจันทร์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- พันตำรวจตรี ชวลิต เลาหอุดมพันธ์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ณัฐวุฒิ บัวประทุมย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ทวีศักดิ์ ทักษิณย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ประเสริฐพงษ์ ศรนุวัตร์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- รองศาสตราจารย์สุรวาท ทองบุย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- องค์การ ชัยบุตรย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- เกษมสันต์ มีทิพย์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / ลาออก 15 ธันวาคม 2565
- ธีรัจชัย พันธุมาศย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- สมเกียรติ ไชยวิสุทธิกุลย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- ณธีภัสร์ กุลเศรษฐสิทธิ์ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- มานพ คีรีภูวดลย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่

พรรคพลังประชารัฐ (18)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
1 ณัฏฐพล ทีปสุวรรณหยุดปฏิบัติหน้าที่ 24​ กุมภาพันธ์​ 2564​[15] / ลาออก 29 พฤษภาคม 2564
2 สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจลาออกจากพรรค 17 มีนาคม 2566, ยุบสภาก่อนจะมีการเลื่อนขึ้นมาแทน
3 พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์หยุดปฏิบัติหน้าที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564[15]/ พ้นจากตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
4 สมศักดิ์ เทพสุทินลาออกจากพรรค 17 มีนาคม 2566, ยุบสภาก่อนจะมีการเลื่อนขึ้นมาแทน
5 นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ลาออก 29 กรกฎาคม 2562[16]
6 สันติ กีระนันทน์ลาออก 17 มกราคม พ.ศ. 2565[17]
7 วิรัช รัตนเศรษฐหยุดปฏิบัติหน้าที่ 2 พฤศจิกายน 2564[18]
8 สันติ พร้อมพัฒน์
9 สุพล ฟองงามลาออก 17 มกราคม พ.ศ. 2565[19]
10 ชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ลาออก 24 พฤศจิกายน 2565[20]
11 เอกราช ช่างเหลาพรรคมีมติขับออก / ย้ายไปสังกัดพรรคภูมิใจไทย
12 พิชชารัตน์ เลาหพงศ์ชนะลาออกจากพรรค 3 มกราคม 2566 [21]
13 บุญสิงห์ วรินทร์รักษ์พรรคมีมติขับออก / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย ทว่าพรรคเศรษฐกิจไทยมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค จึงกลับมาเป็นสมาชิกพรรพลังประชารัฐ[22]
14 สุรสิทธิ์ วงศ์วิทยานันท์
15 สุรสิทธิ์ นิธิวุฒิวรรักษ์
16 พงศ์กวิน จึงรุ่งเรืองกิจ
17 วิเชียร ชวลิตลาออก 18 เมษายน 2565 [23]
18 อรรถกร ศิริลัทธยากร
19 วทันยา วงษ์โอภาสีเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 29 พฤษภาคม 2562 / ลาออก 16 สิงหาคม 2565[24]
20 พรชัย ตระกูลวรานนท์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 30 กรกฎาคม 2562 [25]
21 ยุทธนา โพธสุธนเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 31 พฤษภาคม 2564 [26] / พรรคมีมติขับออก ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย และคาดว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[27]
22 ต่อศักดิ์ อัศวเหมเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 10 ธันวาคม 2564[28]
23 ชวน ชูจันทร์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 18 มกราคม 2565[29]
25 สุรพร ดนัยตั้งตระกูลเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 18 มกราคม 2565[30] (ข้ามคนที่ 24)
26 ภาคิน สมมิตรธนกุลเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 19 เมษายน 2565[31] / ลาออก 17 กุมภาพันธ์ 2566
27 ธนกร วังบุญคงชนะเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 19 สิงหาคม 2565[32] / ลาออก 19 มกราคม 2566[33]
29 วลัยพร รัตนเศรษฐเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 28 พฤศจิกายน 2565[34] (ข้ามคนที่ 28)
30 เอกสิทธิ์ คุณานันทกุลเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 5 มกราคม 2566[35], ลาออก 7 มีนาคม 2566
31 โกมินทร์ ทีฆธนานนท์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 20 มกราคม 2566[36]
32 กิตติประภา จิวะสันติการเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566[37]
35 ตติรัฐ รัตนเศรษฐเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 10 มีนาคม 2566[38] (ข้ามลำดับที่ 33,34)
- ไพบูลย์ นิติตะวันย้ายมาจากพรรคประชาชนปฏิรูป[39][40][a]
- พลตำรวจเอกยงยุทธ เทพจำนงค์ย้ายมาจากพรรคประชานิยม / พรรคมีมติขับออก / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย ทว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[41]
- พิเชษฐ สถิรชวาลย้ายมาจากพรรคประชาธรรมไทย / ลาออก 15 มีนาคม 2566[42]

พรรคประชาธิปัตย์ (19)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
1 อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะลาออก 5 มิถุนายน 2562
2 ชวน หลีกภัย
3 บัญญัติ บรรทัดฐาน
4 เทอดพงษ์ ไชยนันทน์
5 คุณหญิงกัลยา โสภณพนิชลาออก 8 สิงหาคม 2562
6 จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
7 กรณ์ จาติกวณิชลาออก 15 มกราคม 2563
8 จุติ ไกรฤกษ์ลาออก 13 กันยายน 2562[43]
9 องอาจ คล้ามไพบูลย์
10 ศิริวรรณ ปราศจากศัตรูลาออก 23 กุมภาพันธ์ 2566
11 อิสสระ สมชัยหยุดปฏิบัติหน้าที่ 24​ กุมภาพันธ์​ 2564[15] / ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี / พ้นจากตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
12 อัศวิน วิภูศิริ
13 เกียรติ สิทธีอมร
14 กนก วงษ์ตระหง่านลาออก 16 ธันวาคม 2565
15 ศรีสมร รัศมีฤกษ์เศรษฐ์ลาออก 20 มกราคม 2566[44]
16 พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาคลาออก 9 ธันวาคม 2562
17 พนิต วิกิตเศรษฐ์
18 อภิชัย เตชะอุบลลาออก 16 มีนาคม 2565
19 วีระชัย วีระเมธีกุลลาออก 15 มิถุนายน 2565
20 จิตภัสร์ กฤดากร[45]เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 29 พฤษภาคม 2562
21 สุทัศน์ เงินหมื่น[46]เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 5 มิถุนายน 2562
22 พิสิฐ ลี้อาธรรมเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 9 สิงหาคม 2562[47]
23 อิสระ เสรีวัฒนวุฒิเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 13 กันยายน 2562 [48] / ลาออก 20 มกราคม 2566
24 พิมพ์รพี พันธุ์วิชาติกุลเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 11 ธันวาคม 2562[49]
26 จักพันธ์ ปิยพรไพบูลย์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 16 มกราคม 2563[50] และยุติการปฏิบัติหน้าที่ 28 มกราคม 2563[51]
, เริ่มปฏิบัติหน้าที่อีกครั้ง 10 ธันวาคม 2564[52] (ข้ามคนที่ 25)
27 นราพัฒน์ แก้วทองเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 21 มีนาคม 2565[53] / ลาออก 26 สิงหาคม 2565[54]
28 ไชยยศ จิรเมธากรเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 17 มิถุนายน 2565[55] / ลาออก 26 สิงหาคม 2565[54]
29 เจือ ราชสีห์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 29 สิงหาคม 2565[56] / ลาออก 1 มีนาคม 2566[57]
30 มัลลิกา บุญมีตระกูล มหาสุขเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 29 สิงหาคม 2565[58]
31 นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 16 ธันวาคม 2565[59]
32 ชำนิ ศักดิเศรษฐ์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 21 มกราคม 2566[60]
33 สุรบถ หลีกภัยเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 21 มกราคม 2566[61]
34 ยุพ นานาเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566[62]
36 ราเมศ รัตนะเชวงเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 2 มีนาคม 2566[63] (ข้ามลำดับที่ 35)

พรรคภูมิใจไทย (14)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
1 อนุทิน ชาญวีรกูล
2 ชัย ชิดชอบถึงแก่อนิจกรรม 24 มกราคม 2563
3 ศักดิ์สยาม ชิดชอบ
4 นาที รัชกิจประการพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีคำพิพากษาให้จำคุก
5 สรอรรถ กลิ่นประทุม
6 ทรงศักดิ์ ทองศรีลาออก 23 กรกฎาคม 2562
7 วีรศักดิ์ หวังศุภกิจโกศลลาออก 23 กรกฎาคม 2562
8 ศุภมาส อิศรภักดี
9 กรวีร์ ปริศนานันทกุล
10 ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์
11 เพชรดาว โต๊ะมีนา
12 ศุภชัย ใจสมุทร
13 พันเอกเศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 24 กรกฎาคม 2562[64]
14 มารุต มัสยวาณิชเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 24 กรกฎาคม 2562[65]
15 สวาป เผ่าประทานเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 27 มกราคม 2563[66]
16 กนกวรรณ วิลาวัลย์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 28 สิงหาคม 2563[67] / ลาออก 2 กันยายน 2563[68]
17 สุชาติ โชคชัยวัฒนากรเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 3 กันยายน 2563[69]
- วิรัช พันธุมะผลย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
- สำลี รักสุทธีย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / หยุดปฏิบัติหน้าที่ 3 พฤศจิกายน 2564[70] / พ้นจากตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[71]
- เอกราช ช่างเหลาเดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่พรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค [72]

พรรคเสรีรวมไทย (10)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส
2 วัชรา ณ วังขนาย
3 วิรัตน์ วรศสิริน
4 เรวัต วิศรุตเวช
5 ประสงค์ บูรณ์พงศ์ลาออก 3 กุมภาพันธ์ 2566
6 นภาพร เพ็ชร์จินดา
7 เพชร เอกกำลังกุล
8 ธนพร โสมทองแดง
9 อำไพ กองมณี
10 พลตำรวจโท วิศณุ ม่วงแพรสี
13 ศุภชัย นาคสุวรรณ์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566[73] (ข้ามลำดับที่ 11-12)

พรรคเศรษฐกิจใหม่ (6)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์ลาออก 17 กุมภาพันธ์ 2565
2 สุภดิช อากาศฤกษ์
3 นิยม วิวรรธนดิฐกุลลาออก 19 มกราคม 2566
4 ภาสกร เงินเจริญกุลลาออก 1 มีนาคม 2566[74]
5 มนูญ สิวาภิรมย์รัตน์
6 มารศรี ขจรเรืองโรจน์
8 จิราพร นาคดิลกเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 18 กุมภาพันธ์ 2565[75] (ข้ามลำดับที่ 7)
9 พิชัย ขจรเรืองโรจน์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 20 มกราคม 2566[76]
10 อาทิตยา อะนะฝรั่งเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 2 มีนาคม 2566[77]

พรรคเพื่อชาติ (5)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 สงคราม กิจเลิศไพโรจน์ลาออก 31 มกราคม 2566[78]
2 ปิยะรัฐชย์ ติยะไพรัชลาออก 31 มกราคม 2566[78]
3 อารี ไกรนราลาออก 15 ธันวาคม 2565
4 เพชรวรรต วัฒนพงศศิริกุล
5 ลินดา เชิดชัย
6 บุศริณธญ์ วรพัฒนานันน์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 15 ธันวาคม 2565[79]
17 เกริกมนตรี รุจโสตถิรพัฒน์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566[80] (ข้ามคนที่ 7-16)
18 วารีรัตน์ แก้วเงินเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566[81]

พรรคชาติไทยพัฒนา (5)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 วราวุธ ศิลปอาชา
2 ธีระ วงศ์สมุทร
3 นิกร จำนง
4 นพดล มาตรศรี
- จุลพันธ์ โนนศรีชัยย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่

พรรครวมพลัง (4)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุลลาออก 31 กรกฎาคม 2562[82]
2 เพชรชมพู กิจบูรณะลาออก 18 ตุลาคม 2564
3 เขตรัฐ เหล่าธรรมทัศน์ลาออก 17 มกราคม 2566[83]
4 อนุสรี ทับสุวรรณลาออก 15 ธันวาคม 2565
5 ทวีศักดิ์ ณ ตะกั่วทุ่งเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 31 กรกฎาคม 2562[82] / ลาออก 2 สิงหาคม 2562[84]
6 จุฑาฑัตต เหล่าธรรมทัศน์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 5 สิงหาคม 2562[85]
8 สุเนตตา แซ่โก๊ะเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 19 ตุลาคม 2564[86] (ข้ามคนที่ 7)
9 เอนก เหล่าธรรมทัศน์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 15 ธันวาคม 2565[87]
12 เบญญา นันทขว้างเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 19 มกราคม 2566[88] / ลาออก 24 มกราคม 2566[89] (ข้ามคนที่ 10–11)
15 ร้อยตำรวจเอกจอมเดช ตรีเมฆเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 26 มกราคม 2566[90] (ข้ามคนที่ 13–14)

พรรครวมไทยสร้างชาติ (2)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
- บุญญาพร นาตะธนภัทรเดิมสังกัดพรรครวมแผ่นดิน แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
- ศิลัมพา เลิศนุวัฒน์เดิมสังกัดพรรคพลเมืองไทย แต่ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค

พรรคพลังท้องถิ่นไท (3)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ชัชวาลล์ คงอุดมลาออก 26 ธันวาคม 2565[91]
2 โกวิทย์ พวงงามลาออก 8 มีนาคม 2566[92]
3 นพดล แก้วสุพัฒน์ลาออก 26 ธันวาคม 2565[93]
12 ยอดยิ่ง แสนยากุลเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 28 ธันวาคม 2565[94] (ข้ามอันดับ 4–11)
16 สิทธิพงศ์ วงศ์เลิศศักดิ์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 28 ธันวาคม 2565[95] (ข้ามอันดับ 13–15)
21 ศิริรัตน์ สุขสนานเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 13 มีนาคม 2566[96] (ข้ามอันดับ 17-20)

พรรคชาติพัฒนากล้า (2)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 เทวัญ ลิปตพัลลภ
2 ดล เหตระกูล

พรรคโอกาสไทย (2)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ดำรงค์ พิเดช
2 ยรรยงก์ ถนอมพิชัยธำรง

พรรคครูไทยเพื่อประชาชน (1)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ปรีดา บุญเพลิง

พรรคไทยศรีวิไลย์ (1)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 มงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ลาออก 17 กุมภาพันธ์ 2566[97]
3 ภคอร จันทรคณาเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566[98] (ข้ามลำดับที่ 2) / ลาออก 3 มีนาคม 2566[99]
4 พลโท อัศวิน รัชฎานนท์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 7 มีนาคม 2566[100], ลาออก 10 มีนาคม 2566
5 วิวัฒน์ เจริญพาณิชย์ศิริเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 13 มีนาคม 2566[101]

พรรคประชาชาติ (1)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 วันมูหะมัดนอร์ มะทาลาออก 11 กันยายน 2563
2 พันตำรวจเอกทวี สอดส่องเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 11 กันยายน 2563[102]

พรรคประชาธิปไตยใหม่ (1)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 สุรทิน พิจารณ์ลาออก 2 กุมภาพันธ์ 2566[103]
3 แพงศรี พิจารณ์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566[104] (ข้ามลำดับที่ 2) / ลาออก 14 กุมภาพันธ์ 2566[105]
5 ปฏิวัติ พิจารณ์เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566[106] (ข้ามลำดับที่ 4)

พรรคประชาภิวัฒน์ (1)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 สมเกียรติ ศรลัมพ์ลาออก 11 สิงหาคม 2562
2 นันทนา สงฆ์ประชาเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 13 สิงหาคม 2562[107] / ลาออก 15 ธันวาคม 2565
3 รองรักษ์ บุญศิริเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 15 ธันวาคม 2565[108]

พรรคพลังธรรมใหม่ (1)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ระวี มาศฉมาดล

พรรคพลังปวงชนไทย (1)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 นิคม บุญวิเศษลาออก 2 กุมภาพันธ์ 2565[109]
6 พันธุ์ศักดิ์ ซาบุเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 (ข้ามลำดับ 2-5)

พรรคเพื่อชาติไทย (1)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 คฑาเทพ เตชะเดชเรืองกุล

พรรคอนาคตใหม่ (0)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
1 ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจพ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[110]
2 ปิยบุตร แสงกนกกุลตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
3 วรรณวิภา ไม้สนย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
4 พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
5 กุลธิดา รุ่งเรืองเกียรติตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
6 พลโท พงศกร รอดชมภูตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
7 พรรณิการ์ วานิชตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
8 สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
9 ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
10 พิจารณ์ เชาวพัฒนวงศ์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
11 เจนวิทย์ ไกรสินธุ์ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
12 สุรชัย ศรีสารคามตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
13 ชำนาญ จันทร์เรืองตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
14 อภิชาติ ศิริสุนทรย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
15 ศิริกัญญา ตันสกุลย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
16 รังสิมันต์ โรมย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
17 เยาวลักษณ์ วงษ์ประภารัตน์ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
18 จารุวรรณ ศรัณย์เกตุตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
19 วินท์ สุธีรชัยย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
20 ไกลก้อง ไวทยการตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
21 สุเทพ อู่อ้นย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
23 ปริญญา ช่วยเกตุ คีรีรัตน์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล (ข้ามลำดับที่ 22)
24 ณัฐพล สืบศักดิ์วงศ์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
25 ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
26 คารม พลพรกลางย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
27 สมชาย ฝั่งชลจิตรย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
28 วาโย อัศวรุ่งเรืองย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
29 คำพอง เทพาคำย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
30 อมรัตน์ โชคปมิตต์กุลย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
31 พลตำรวจตรี สุพิศาล ภักดีนฤนาถย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
32 นิรามาน สุไลมานตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี
33 นิติพล ผิวเหมาะย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
34 วิโรจน์ ลักขณาอดิศรย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
36 วิรัช พันธุมะผลย้ายไปสังกัดพรรคภูมิใจไทย (ข้ามลำดับที่ 35)
37 ปกรณ์วุฒิ อุดมพิพัฒน์สกุลย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
38 วรภพ วิริยะโรจน์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
39 กัญจน์พงศ์ จงสุทธนามณีย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
40 เบญจา แสงจันทร์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
41 พันตำรวจตรี ชวลิต เลาหอุดมพันธ์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
42 ณัฐวุฒิ บัวประทุมย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
43 ทวีศักดิ์ ทักษิณย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
44 ประเสริฐพงษ์ ศรนุวัตร์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
45 รองศาสตราจารย์สุรวาท ทองบุย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
46 องค์การ ชัยบุตรย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
47 สำลี รักสุทธีย้ายไปสังกัดพรรคภูมิใจไทย
48 เกษมสันต์ มีทิพย์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
49 ธีรัจชัย พันธุมาศย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
50 สมเกียรติ ไชยวิสุทธิกุลย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
51 ณธีภัสร์ กุลเศรษฐสิทธิ์ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล
52 จุลพันธ์ โนนศรีชัยย้ายไปสังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา
53 มานพ คีรีภูวดลเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 22 พฤศจิกายน 2562[111] / ย้ายไปสังกัดพรรคก้าวไกล

พรรคประชาชนปฏิรูป (0)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ไพบูลย์ นิติตะวันย้ายไปสังกัดพรรคพลังประชารัฐ

พรรคประชาธรรมไทย (0)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 พิเชษฐ สถิรชวาลย้ายไปสังกัดพรรคพลังประชารัฐ

พรรคประชานิยม (0)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 พลตำรวจเอก ยงยุทธ เทพจำนงค์ย้ายไปสังกัดพรรคพลังประชารัฐ

พรรคไทรักธรรม (0)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 พีระวิทย์ เรื่องลือดลภาคยุติการปฏิบัติหน้าที่ 29 พฤษภาคม 2562 – 28 มกราคม 2563[112][113][51] / ตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี[114]

พรรครวมแผ่นดิน (0)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 พลตรี ทรงกลด ทิพย์รัตน์ลาออก 25 ตุลาคม 2564[115]
2 บุญญาพร นาตะธนภัทรเริ่มปฏิบัติหน้าที่ 25 ตุลาคม 2564[116] , ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[117] / ย้ายไปสังกัดพรรครวมไทยสร้างชาติ

พรรคพลเมืองไทย (0)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
ณ วันสมัครรับเลือกตั้ง
1 ศิลัมพา เลิศนุวัฒน์ถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรครวมไทยสร้างชาติ[118]

พรรคเศรษฐกิจไทย (0)

#รายชื่อรายละเอียดเพิ่มเติม
- บุญสิงห์ วรินทร์รักษ์เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่พรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคพลังประชารัฐ
- ยุทธนา โพธสุธนเดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่คาดว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคพลังประชารัฐ
- พลตำรวจเอก ยงยุทธ เทพจำนงค์เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่พรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคพลังประชารัฐ

รายชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ดำรงสมาชิกภาพ
สิ้นสุดสมาชิกภาพ

แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน

กรุงเทพมหานคร

มีรายชื่อดังนี้

หน่วยการปกครองเขตรายชื่อพรรคหมายเหตุ
กรุงเทพมหานคร1กานต์กนิษฐ์ แห้วสันตติพรรคพลังประชารัฐ ลาออกจากพรรค 10 มกราคม 2566 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่
2พัชรินทร์ ซำศิริพงษ์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่
3วรรณวรี ตะล่อมสินพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
4กรณิศ งามสุคนธ์รัตนาพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 20 ธันวาคม 2565[119] / ไม่มีเลือกตั้งใหม่
5ประเดิมชัย บุญช่วยเหลือพรรคเพื่อไทย ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่
6ภาดาท์ วรกานนท์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 20 ธันวาคม 2565[120] / ไม่มีเลือกตั้งใหม่
7ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์พรรคพลังประชารัฐ  หยุดปฏิบัติหน้าที่ 18 ส.ค. 64[121]/ ศาลฎีกามีคำพิพากษาให้จำคุก[122]
8กษิดิ์เดช ชุติมันต์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่
9สิระ เจนจาคะพรรคพลังประชารัฐ พ้นจากตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[123]
สุรชาติ เทียนทองพรรคเพื่อไทย เลือกตั้งซ่อม[124]
10การุณ โหสกุลพรรคเพื่อไทย ลาออก 18 มกราคม 2566[125] / ไม่มีเลือกตั้งใหม่
11นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพพรรคเพื่อไทย ลาออกจากพรรค 27 มกราคม 2566[126] / ไม่มีเลือกตั้งใหม่
12อนุสรณ์ ปั้นทองพรรคเพื่อไทย
13ฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 27 กุมภาพันธ์ 2566[127] / ไม่มีเลือกตั้งใหม่
14พลภูมิ วิภัติภูมิประเทศพรรคเพื่อไทย
15ชาญวิทย์ วิภูศิริพรรคพลังประชารัฐ
16จิรายุ ห่วงทรัพย์พรรคเพื่อไทย
17ศิริพงษ์ รัสมีพรรคพลังประชารัฐ
18ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์พรรคเพื่อไทย
19ประสิทธิ์ มะหะหมัดพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 24 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่
20ร้อยตำรวจตรี มณฑล โพธิ์คายพรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[128]
21สมเกียรติ ถนอมสินธุ์พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / ลาออก 15 มีนาคม 2566[129] / ไม่มีเลือกตั้งใหม่
22เท่าพิภพ ลิ้มจิตรกรพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
23โชติพิพัฒน์ เตชะโสภณมณีพรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[130]
24ทศพร ทองศิริพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
25ณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
26วัน อยู่บำรุงพรรคเพื่อไทย
27จิรวัฒน์ อรัณยกานนท์พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / ลาออกจากพรรค 4 พฤศจิกายน 2565[131]/ ไม่มีเลือกตั้งใหม่
28ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
29สุภาภรณ์ คงวุฒิปัญญาพรรคเพื่อไทย
30จักรพันธ์ พรนิมิตรพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีเลือกตั้งใหม่

ภาคกลาง

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัดเขตรายชื่อพรรคหมายเหตุ
กำแพงเพชร1ไผ่ ลิกค์พรรคพลังประชารัฐ เดิมพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย และคาดว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[132]
2พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์พรรคพลังประชารัฐ ศาลฎีกาพิพากษาให้จำคุกระหว่างดำรงตำแหน่ง
เพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์พรรคพลังประชารัฐ เลือกตั้งซ่อม[133][134]
3อนันต์ ผลอำนวยพรรคพลังประชารัฐ
4ปริญญา ฤกษ์หร่ายพรรคพลังประชารัฐ
ชัยนาท1อนุชา นาคาศัยพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 17 กุมภาพันธ์ 2566[135] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2มณเฑียร สงฆ์ประชาพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
นครนายก1วุฒิชัย กิตติธเนศวรพรรคเพื่อไทย ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
นครปฐม1พันโท สินธพ แก้วพิจิตรพรรคประชาธิปัตย์
2พาณุวัฒณ์ สะสมทรัพย์พรรคชาติไทยพัฒนา
3สุทธวรรณ สุบรรณ ณ อยุธยาพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
4ปฐมพงศ์ สูญจันทร์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
5จุมพิตา จันทรขจรพรรคอนาคตใหม่ ลาออก 10 กันยายน 2562
เผดิมชัย สะสมทรัพย์พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งซ่อม[136][137]
นครสวรรค์1ภิญโญ นิโรจน์พรรคพลังประชารัฐ
2วีระกร คำประกอบพรรคพลังประชารัฐ ลาออกจากพรรค 10 มกราคม 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3สัญญา นิลสุพรรณพรรคพลังประชารัฐ
4มานพ ศรีผึ้งพรรคภูมิใจไทย
5ทายาท เกียรติชูศักดิ์พรรคเพื่อไทย
6นิโรธ สุนทรเลขาพรรคพลังประชารัฐ ลาออกจากพรรค 10 มีนาคม 2566[138] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
นนทบุรี1เจริญ เรี่ยวแรงพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 9 กุมภาพันธ์ 2566[109] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2จิรพงษ์ ทรงวัชราภรณ์พรรคเพื่อไทย
3มานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์พรรคเพื่อไทย
4มนตรี ตั้งเจริญถาวรพรรคเพื่อไทย
5วันชัย เจริญนนทสิทธิ์พรรคเพื่อไทย ลาออก 28 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
6ภณณัฏฐ์ ศรีอินทร์สุทธิ์พรรคเพื่อไทย
ปทุมธานี1สุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไลพรรคเพื่อไทย
2ศุภชัย นพขำพรรคเพื่อไทย
3อนาวิล รัตนสถาพรพรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[139]
4ชัยยันต์ ผลสุวรรณ์พรรคเพื่อไทย
5พรพิมล ธรรมสารพรรคภูมิใจไทย เดิมสังกัดพรรคเพื่อไทย แต่พรรคมีมติให้ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
6พิษณุ พลธีพรรคภูมิใจไทย
พระนครศรีอยุธยา1เกื้อกูล ด่านชัยวิจิตรพรรคภูมิใจไทย
2นพ ชีวานันท์พรรคเพื่อไทย ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3สุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุลพรรคภูมิใจไทย
4จิรทัศ ไกรเดชาพรรคเพื่อไทย
พิจิตร1พรชัย อินทร์สุขพรรคพลังประชารัฐ เดิมพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย และคาดว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[140]
2ภูดิท อินสุวรรณ์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 9 กุมภาพันธ์ 2565[109] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3สุรชาติ ศรีบุศกรพรรคพลังประชารัฐ
พิษณุโลก1ปดิพัทธ์ สันติภาดาพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
2นพพล เหลืองทองนาราพรรคเพื่อไทย
3อนุชา น้อยวงศ์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
4นิยม ช่างพินิจพรรคเพื่อไทย ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
5มานัส อ่อนอ้ายพรรคพลังประชารัฐ
เพชรบูรณ์1พิมพ์พร พรพฤฒิพันธุ์พรรคพลังประชารัฐ
2จักรัตน์ พั้วช่วยพรรคพลังประชารัฐ
3วันเพ็ญ พร้อมพัฒน์พรรคพลังประชารัฐ
4สุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์พรรคพลังประชารัฐ
5เอี่ยม ทองใจสดพรรคพลังประชารัฐ
ลพบุรี1ประทวน สุทธิอำนวยเดชพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2มัลลิกา จิระพันธุ์วาณิชพรรคภูมิใจไทย
3อุบลศักดิ์ บัวหลวงงามพรรคเพื่อไทย
4เกียรติ เหลืองขจรวิทย์พรรคภูมิใจไทย
สมุทรปราการ1อัครวัฒน์ อัศวเหมพรรคพลังประชารัฐ
2ยงยุทธ สุวรรณบุตรพรรคพลังประชารัฐ
3ภริม พูลเจริญพรรคพลังประชารัฐ
4วุฒินันท์ บุญชูพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
5กรุงศรีวิไล สุทินเผือกพรรคพลังประชารัฐ ศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้งมีคำสั่งให้มีการเลือกตั้งใหม่[141] และได้รับเลือกตั้งซ่อม
6ฐาปกรณ์ กุลเจริญพรรคพลังประชารัฐ
7ไพลิน เทียนสุวรรณพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 21 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
สมุทรสงคราม1รังสิมา รอดรัศมีพรรคประชาธิปัตย์
สมุทรสาคร1ทองแดง เบ็ญจะปักพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
2สมัคร ป้องวงษ์พรรคชาติพัฒนากล้า ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3จอมขวัญ กลับบ้านเกาะพรรคพลังประชารัฐ เดิมพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย และคาดว่าถูกพรรคขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค เพราะได้ย้ายกลับพรรคพลังประชารัฐตามแกนนำกลุ่มธรรมนัสบางส่วน[142]
สระบุรี1กัลยา รุ่งวิจิตรชัยพรรคพลังประชารัฐ
2สมบัติ อำนาคะพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 24 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3องอาจ วงษ์ประยูรพรรคเพื่อไทย ลาออก 1 กุมภาพันธ์ 2566[78] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
สิงห์บุรี1โชติวุฒิ ธนาคมานุสรณ์พรรคพลังประชารัฐ
สุโขทัย1พรรณสิริ กุลนาถศิริพรรคพลังประชารัฐ
2ชูศักดิ์ คีรีมาศทองพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 9 กุมภาพันธ์ 2565[109] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3สมเจตน์ ลิมปะพันธุ์พรรคภูมิใจไทย
สุพรรณบุรี1สรชัด สุจิตต์พรรคชาติไทยพัฒนา
2ณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณพรรคชาติไทยพัฒนา
3ประภัตร โพธสุธนพรรคชาติไทยพัฒนา
4เสมอกัน เที่ยงธรรมพรรคชาติไทยพัฒนา
อ่างทอง1ภราดร ปริศนานันทกุลพรรคภูมิใจไทย
อุทัยธานี1เจเศรษฐ์ ไทยเศรษฐ์พรรคภูมิใจไทย
2ชาดา ไทยเศรษฐ์พรรคภูมิใจไทย


ภาคเหนือ

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัดเขตรายชื่อพรรคหมายเหตุ
เชียงราย1เอกภพ เพียรพิเศษพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2วิสิษฐ์ เตชะธีราวัฒน์พรรคเพื่อไทย
3วิสาร เตชะธีราวัฒน์พรรคเพื่อไทย
4รังสรรค์ วันไชยธนวงศ์พรรคเพื่อไทย ลาออก 1 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
5พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพานพรรคเพื่อไทย
6พีรเดช คำสมุทรพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
7ละออง ติยะไพรัชพรรคเพื่อไทย
เชียงใหม่1ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์พรรคเพื่อไทย
2นพคุณ รัฐผไทพรรคเพื่อไทย
3จักรพล ตั้งสุทธิธรรมพรรคเพื่อไทย
4วิทยา ทรงคำพรรคเพื่อไทย
5สมพงษ์ อมรวิวัฒน์พรรคเพื่อไทย
6จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์พรรคเพื่อไทย
7ประสิทธิ์ วุฒินันชัยพรรคเพื่อไทย
8[c]ศรีนวล บุญลือพรรคภูมิใจไทย เดิมสังกัดพรรคอนาคตใหม่ แต่พรรคมีมติให้ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
9ศรีเรศ โกฎคำลือพรรคเพื่อไทย
น่าน1สิรินทร รามสูตพรรคเพื่อไทย
2ชลน่าน ศรีแก้วพรรคเพื่อไทย
3ณัฐพงษ์ สุปริยศิลป์พรรคเพื่อไทย
พะเยา1ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่าพรรคพลังประชารัฐ เดิมพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย และคาดว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[143]
2วิสุทธิ์ ไชยณรุณพรรคเพื่อไทย
3จีรเดช ศรีวิราชพรรคพลังประชารัฐ เดิมพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย และคาดว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[144]
แพร่1เอกการ ซื่อทรงธรรมพรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[145]
2กฤติเดช สันติวชิระกุลพรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[146]
แม่ฮ่องสอน1ปัญญา จีนาคำพรรคพลังประชารัฐ เดิมพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย และคาดว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[147]
ลำปาง1กิตติกร โล่ห์สุนทรพรรคเพื่อไทย
2ไพโรจน์ โล่ห์สุนทรพรรคเพื่อไทย
3จรัสฤทธิ์ จันทรสุรินทร์พรรคเพื่อไทย
4อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์พรรคเพื่อไทย เสียชีวิต 7 พฤษภาคม 2563[148]
วัฒนา สิทธิวังพรรคเศรษฐกิจไทย เลือกตั้งซ่อม[149] / กกต.มีมติให้ใบเหลือง [150] / ศาลฎีกามีคำสั่งให้หยุดปฏิบัติหน้าที่[151] / เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่พรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / พ้นจากตำแหน่งตามคำพิพากษาศาลฎีกา[152]
เดชทวี ศรีวิชัยพรรคเสรีรวมไทย เลือกตั้งซ่อม / ลาออก 14 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
ลำพูน1สงวน พงษ์มณีพรรคเพื่อไทย
2รังสรรค์ มณีรัตน์พรรคเพื่อไทย
อุตรดิตถ์1กนก ลิ้มตระกูลพรรคเพื่อไทย
2ศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุพรรคเพื่อชาติ เดิมสังกัดพรรคเพื่อไทย แต่พรรคมีมติให้ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัดเขตรายชื่อพรรคหมายเหตุ
กาฬสินธุ์1บุญรื่น ศรีธเรศพรรคเพื่อไทย
2วีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์พรรคเพื่อไทย
3คมเดช ไชยศิวามงคลพรรคเพื่อไทย
4พีระเพชร ศิริกุลพรรคเพื่อไทย
5ประเสริฐ บุญเรืองพรรคเพื่อไทย
ขอนแก่น1ฐิตินันท์ แสงนาคพรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[153]
2วัฒนา ช่างเหลาพรรคภูมิใจไทย เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่พรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
3จตุพร เจริญเชื้อพรรคเพื่อไทย
4มุกดา พงษ์สมบัติพรรคเพื่อไทย
5ภาควัต ศรีสุรพลพรรคเพื่อไทย
6สิงหภณ ดีนางพรรคเพื่อไทย
7นวัธ เตาะเจริญสุขพรรคเพื่อไทย พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[154]
สมศักดิ์ คุณเงินพรรคพลังประชารัฐ เลือกตั้งซ่อม[155][156] / เดิมพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย และคาดว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[157]
8สรัสนันท์ อรรณนพพรพรรคเพื่อไทย
9วันนิวัติ สมบูรณ์พรรคเพื่อไทย
10บัลลังก์ อรรณนพพรพรรคเพื่อไทย
ชัยภูมิ1โอชิษฐ์ เกียรติก้องชูชัยพรรคเพื่อไทย
2เชิงชาย ชาลีรินทร์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 22 ธันวาคม 2565 [158] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3สัมฤทธิ์ แทนทรัพย์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
4มานะ โลหะวณิชย์พรรคเพื่อไทย
5พรเพ็ญ บุญศิริวัฒนกุลพรรคเพื่อไทย
6สุรวิทย์ คนสมบูรณ์พรรคเพื่อไทย
นครพนม1ศุภชัย โพธิ์สุพรรคภูมิใจไทย
2มนพร เจริญศรีพรรคเพื่อไทย
3ไพจิต ศรีวรขานพรรคเพื่อไทย
4ชวลิต วิชยสุทธิ์พรรคเพื่อไทย ลาออกจากพรรค 23 มกราคม 2566[159] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
นครราชสีมา1เกษม ศุภรานนท์พรรคพลังประชารัฐ เดิมพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย และคาดว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[160]
2วัชรพล โตมรศักดิ์พรรคชาติพัฒนากล้า
3ประเสริฐ จันทรรวงทองพรรคเพื่อไทย
4ทวิรัฐ รัตนเศรษฐพรรคพลังประชารัฐ
5โกศล ปัทมะพรรคเพื่อไทย
6อธิรัฐ รัตนเศรษฐพรรคพลังประชารัฐ
7ทัศนียา รัตนเศรษฐพรรคพลังประชารัฐ หยุดปฏิบัติหน้าที่ 2 พฤศจิกายน 2564[161]
8ทัศนาพร เกษเมธีการุณพรรคพลังประชารัฐ หยุดปฏิบัติหน้าที่ 2 พฤศจิกายน 2564[162] / เดิมพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย และคาดว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[163]
9อภิชา เลิศพชรกมลพรรคภูมิใจไทย ลาออก 20 มกราคม 2566[164] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
10พรชัย อำนวยทรัพย์พรรคภูมิใจไทย
11สมศักดิ์ พันธ์เกษมพรรคภูมิใจไทย เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่พรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
12ศิรสิทธิ์ เลิศด้วยลาภพรรคเพื่อไทย
13วิสิทธิ์ พิทยาภรณ์พรรคภูมิใจไทย
14สุชาติ ภิญโญพรรคเพื่อไทย ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
บึงกาฬ1เชิดพงศ์ ราชป้องขันธ์พรรคเพื่อไทย
2ไตรรงค์ ติธรรมพรรคเพื่อไทย
บุรีรัมย์1สนอง เทพอักษรณรงค์พรรคภูมิใจไทย
2รังสิกร ทิมาตฤกะพรรคภูมิใจไทย
3สมบูรณ์ ซารัมย์พรรคภูมิใจไทย
4โสภณ ซารัมย์พรรคภูมิใจไทย
5อดิพงษ์ ฐิติพิทยาพรรคภูมิใจไทย
6ไตรเทพ งามกมลพรรคภูมิใจไทย
7จักรกฤษณ์ ทองศรีพรรคภูมิใจไทย
8รุ่งโรจน์ ทองศรีพรรคภูมิใจไทย
มหาสารคาม1กิตติศักดิ์ คณาสวัสดิ์พรรคเพื่อไทย
2ไชยวัฒนา ติณรัตน์พรรคเพื่อไทย
3ยุทธพงศ์ จรัสเสถียรพรรคเพื่อไทย
4จิรวัฒน์ ศิริพานิชย์พรรคเพื่อไทย
5สุทิน คลังแสงพรรคเพื่อไทย
มุกดาหาร1อนุรักษ์ ตั้งปณิธานนท์พรรคเพื่อไทย หยุดปฏิบัติหน้าที่ 15 ธ.ค. 2564[165] / พ้นจากตำแหน่งตามคำพิพากษาของศาลฎีกา[166] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2บุญฐิน ประทุมลีพรรคเพื่อไทย
ยโสธร1ปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อพรรคเพื่อไทย
2บุญแก้ว สมวงศ์พรรคเพื่อไทย
3ธนกร ไชยกุลพรรคเพื่อไทย
ร้อยเอ็ด1อนุรักษ์ จุรีมาศพรรคชาติไทยพัฒนา
2ฉลาด ขามช่วงพรรคเพื่อไทย
3นิรมิต สุจารีพรรคเพื่อไทย
4นิรันดร์ นาเมืองรักษ์พรรคเพื่อไทย
5จิราพร สินธุไพรพรรคเพื่อไทย
6กิตติ สมทรัพย์พรรคเพื่อไทย
7ศักดา คงเพชรพรรคเพื่อไทย
เลย1เลิศศักดิ์ พัฒนชัยกุลพรรคเพื่อไทย
2ศรัณย์ ทิมสุวรรณพรรคเพื่อไทย
3ธนยศ ทิมสุวรรณพรรคภูมิใจไทย
ศรีสะเกษ1สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติพรรคภูมิใจไทย
2สุรชาติ ชาญประดิษฐ์พรรคเพื่อไทย
3วิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะพรรคเพื่อไทย
4จาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์พรรคเพื่อไทย
5ธีระ ไตรสรณกุลพรรคเพื่อไทย ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
6วีระพล จิตสัมฤทธิ์พรรคเพื่อไทย
7อาสพลธ์ สรรณ์ไตรภพพรรคภูมิใจไทย
8ผ่องศรี แซ่จึงพรรคเพื่อไทย
สกลนคร1อภิชาติ ตีรสวัสดิชัยพรรคเพื่อไทย
2นิยม เวชกามาพรรคเพื่อไทย
3พัฒนา สัพโสพรรคเพื่อไทย
4อนุรักษ์ บุญศลพรรคเพื่อไทย
5สกุณา สาระนันท์พรรคเพื่อไทย
6เกษม อุประพรรคเพื่อไทย
สุรินทร์1ปกรณ์ มุ่งเจริญพรพรรคภูมิใจไทย
2ณัฏฐพล จรัสรพีพงษ์พรรคเศรษฐกิจไทย เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่พรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ลาออก 22 ธันวาคม 2565[167]/ ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3คุณากร ปรีชาชนะชัยพรรคเพื่อไทย
4ตี๋ใหญ่ พูนศรีธนากูลพรรคเพื่อไทย เสียชีวิต 4 กุมภาพันธ์ 2566[168] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
5ครูมานิตย์ สังข์พุ่มพรรคเพื่อไทย
6สมบัติ ศรีสุรินทร์พรรคเพื่อไทย
7ชูศักดิ์ แอกทองพรรคเพื่อไทย
หนองคาย1กฤษฎา ตันเทอดทิตย์พรรคเพื่อไทย
2ชนก จันทาทองพรรคเพื่อไทย
3เอกธนัช อินทร์รอดพรรคเพื่อไทย
หนองบัวลำภู1สยาม หัตถสงเคราะห์พรรคเพื่อไทย
2ไชยา พรหมาพรรคเพื่อไทย
3ณัฐวุฒิ กองจันทร์ดีพรรคเพื่อไทย ลาออกจากพรรค 10 มกราคม 2566[169] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
อุดรธานี1ศราวุธ เพชรพนมพรพรรคเพื่อไทย
2อนันต์ ศรีพันธุ์พรรคเพื่อไทย
3ขจิตร ชัยนิคมพรรคเพื่อไทย
4อาภรณ์ สาราคำพรรคเพื่อไทย
5จุฑาพัตธน์ เมนะสวัสดิ์พรรคเพื่อไทย
6จักรพรรดิ ไชยสาส์นพรรคเพื่อไทย ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
7เกรียงศักดิ์ ฝ้ายสีงามพรรคเพื่อไทย
8เทียบจุฑา ขาวขำพรรคเพื่อไทย
อุบลราชธานี1วรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์พรรคเพื่อไทย
2วุฒิพงษ์ นามบุตรพรรคประชาธิปัตย์
3กิตติ์ธัญญา วาจาดีพรรคเพื่อไทย
4เอกชัย ทรงอำนาจเจริญพรรคเพื่อไทย
5รัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน์พรรคเพื่อไทย
6ธนะสิทธิ์ โควสุรัตน์พรรคเศรษฐกิจไทย เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่พรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
7ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภพรรคเพื่อไทย
8บุณย์ธิดา สมชัยพรรคประชาธิปัตย์ ลาออก 13 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
9ประภูศักดิ์ จินตะเวชพรรคเพื่อไทย
10สมคิด เชื้อคงพรรคเพื่อไทย
อำนาจเจริญ1สมหญิง บัวบุตรพรรคเพื่อไทย หยุดปฏิบัติหน้าที่ 23 พ.ย. 2565[170]
2ดะนัย มะหิพันธ์พรรคเพื่อไทย

ภาคใต้

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัดเขตรายชื่อพรรคหมายเหตุ
กระบี่1สาคร เกี่ยวข้องพรรคประชาธิปัตย์
2สฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้องพรรคภูมิใจไทย
ชุมพร1ชุมพล จุลใสพรรคประชาธิปัตย์ หยุดปฏิบัติหน้าที่​ 24​ ก.พ.​ 2564[15] / ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี / พ้นจากตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
อิสรพงษ์ มากอำไพพรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งซ่อม[171]
2สราวุธ อ่อนละมัยพรรคประชาธิปัตย์
3สุพล จุลใสพรรครวมพลัง ลาออก 27 มกราคม 2566[78] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
ตรัง1นิพันธ์ ศิริธรพรรคพลังประชารัฐ
2สาทิตย์ วงศ์หนองเตยพรรคประชาธิปัตย์
3สุณัฐชา โล่สถาพรพิพิธพรรคประชาธิปัตย์
นครศรีธรรมราช1รงค์ บุญสวยขวัญพรรคพลังประชารัฐ
2สัณหพจน์ สุขศรีเมืองพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 22 กุมภาพันธ์ 2566[172] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3เทพไท เสนพงศ์พรรคประชาธิปัตย์ พ้นจากตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
อาญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณพรรคพลังประชารัฐ เลือกตั้งซ่อม[173]
4ประกอบ รัตนพันธ์พรรคประชาธิปัตย์
5ชินวรณ์ บุณยเกียรติพรรคประชาธิปัตย์
6ชัยชนะ เดชเดโชพรรคประชาธิปัตย์
7สายัณห์ ยุติธรรมพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 27 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
8พิมพ์ภัทรา วิชัยกุลพรรคประชาธิปัตย์ ลาออกจากพรรค 14 กุมภาพันธ์ 2566[174] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
นราธิวาส1วัชระ ยาวอหะซันพรรคพลังประชารัฐ
2สัมพันธ์ มะยูโซ๊ะพรรคพลังประชารัฐ
3กูเฮง ยาวอหะซันพรรคประชาชาติ
4กมลศักดิ์ ลีวาเมาะพรรคประชาชาติ
ปัตตานี1อันวาร์ สาและพรรคประชาธิปัตย์ ลาออก 16 ธันวาคม 2565[175] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2อับดุลบาซิม อาบูพรรคภูมิใจไทย
3อนุมัติ ซูสารอพรรคประชาชาติ
4สมมุติ เบ็ญจลักษณ์พรรคประชาชาติ
พังงา1กันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์พรรคประชาธิปัตย์
พัทลุง1ภูมิศิษฏ์ คงมีพรรคภูมิใจไทย หยุดปฏิบัติหน้าที่ 3 ก.ย. 2564[176]
2ฉลอง เทอดวีระพงศ์พรรคภูมิใจไทย หยุดปฏิบัติหน้าที่ 3 ก.ย. 2564[176]
3นริศ ขำนุรักษ์พรรคประชาธิปัตย์
ภูเก็ต1สุทา ประทีป ณ ถลางพรรคพลังประชารัฐ
2นัทธี ถิ่นสาคูพรรคพลังประชารัฐ
ยะลา1อาดิลัน อาลีอิสเฮาะพรรคพลังประชารัฐ
2ซูการ์โน มะทาพรรคประชาชาติ
3อับดุลอายี สาแม็งพรรคประชาชาติ
ระนอง1คงกฤษ ฉัตรมาลีรัตน์พรรคภูมิใจไทย
สงขลา1วันชัย ปริญญาศิริพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 3 ตุลาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2ศาสตรา ศรีปานพรรคพลังประชารัฐ ลาออกจากพรรค 27 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3พยม พรหมเพชรพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 26 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
4ร้อยตำรวจเอก อรุณ สวัสดีพรรคพลังประชารัฐ
5เดชอิศม์ ขาวทองพรรคประชาธิปัตย์
6ถาวร เสนเนียมพรรคประชาธิปัตย์ หยุดปฏิบัติหน้าที่ 24 ก.พ. 64[15] / พ้นจากตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
สุภาพร กำเนิดผลพรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งซ่อม[177]
7ณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อพรรคภูมิใจไทย
8พลตำรวจตรี สุรินทร์ ปาลาเร่พรรคประชาธิปัตย์
สตูล1พิบูลย์ รัชกิจประการพรรคภูมิใจไทย
2วรศิษฎ์ เลียงประสิทธิ์พรรคภูมิใจไทย
สุราษฎร์ธานี1ภานุ ศรีบุศยกาญจน์พรรคประชาธิปัตย์
2วิวรรธน์ นิลวัชรมณีพรรคประชาธิปัตย์
3วชิราภรณ์ กาญจนะพรรคประชาธิปัตย์ ลาออก 24 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
4สมชาติ ประดิษฐพรพรรคประชาธิปัตย์
5สินิตย์ เลิศไกรพรรคประชาธิปัตย์
6ธีรภัทร พริ้งศุลกะพรรคประชาธิปัตย์

ภาคตะวันออก

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัดเขตรายชื่อพรรคหมายเหตุ
จันทบุรี1พันตำรวจโท ฐนภัทร กิตติวงศาพรรคพลังประชารัฐ เดิมสังกัดพรรคอนาคตใหม่ แต่พรรคมีมติให้ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ลาออก 24 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2จารึก ศรีอ่อนพรรคพลังท้องถิ่นไท เดิมสังกัดพรรคอนาคตใหม่ แต่พรรคมีมติให้ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
3ญาณธิชา บัวเผื่อนพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
ฉะเชิงเทรา1กิตติชัย เรืองสวัสดิ์พรรคภูมิใจไทย ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่[178]
2ชัยวัฒน์ เป้าเปี่ยมทรัพย์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 24 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3สุชาติ ตันเจริญพรรคพลังประชารัฐ
4จิรัฏฐ์ ทองสุวรรณ์พรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
ชลบุรี1สุชาติ ชมกลิ่นพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 6 มกราคม 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2ร้อยเอก จองชัย วงศ์ทรายทองพรรคพลังประชารัฐ
3รณเทพ อนุวัฒน์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 24 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
4สรวุฒิ เนื่องจำนงค์พรรคพลังประชารัฐ ลาออกจากพรรค 14 มีนาคม 2566[179] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
5ขวัญเลิศ พานิชมาทพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่ / ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
6จรัส คุ้มไข่น้ำพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
7กวินนาถ ตาคีย์พรรคพลังท้องถิ่นไท เดิมสังกัดพรรคอนาคตใหม่ แต่พรรคมีมติให้ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค
8สะถิระ เผือกประพันธุ์พรรคเศรษฐกิจไทย เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่พรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ลาออก 1 กุมภาพันธ์ 2566[103] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
ตราด1ศักดินัย นุ่มหนูพรรคก้าวไกล ย้ายมาจากพรรคอนาคตใหม่
ปราจีนบุรี1อำนาจ วิลาวัลย์พรรคภูมิใจไทย
2ชยุต ภุมมะกาญจนะพรรคภูมิใจไทย
3สฤษดิ์ บุตรเนียรพรรคภูมิใจไทย
ระยอง1สาธิต ปิตุเตชะพรรคประชาธิปัตย์
2บัญญัติ เจตนจันทร์พรรคประชาธิปัตย์
3ธารา ปิตุเตชะพรรคประชาธิปัตย์
4สมพงษ์ โสภณพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 24 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
สระแก้ว1ฐานิสร์ เทียนทองพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 9 กุมภาพันธ์ 2565[109] / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2ตรีนุช เทียนทองพรรคพลังประชารัฐ
3สุรศักดิ์ ชิงนวรรณ์พรรคพลังประชารัฐ

ภาคตะวันตก

มีรายชื่อดังนี้

จังหวัดเขตรายชื่อพรรคหมายเหตุ
กาญจนบุรี1พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 16 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2สมเกียรติ วอนเพียรพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 9 ก.พ. 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3ยศวัฒน์ มาไพศาลสินพรรคภูมิใจไทย
4ธรรมวิชญ์ โพธิพิพิธพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
5อัฎฐพล โพธิพิพิธพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
ตาก1ธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจพรรคเศรษฐกิจไทย เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐ แต่พรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์พรรคประชาธิปัตย์
3ภาคภูมิ บูลย์ประมุขพรรคพลังประชารัฐ เดิมพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค / ย้ายไปสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทย และคาดว่าพรรคมีมติขับออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[180]
ประจวบคีรีขันธ์1มนตรี ปาน้อยนนท์พรรคประชาธิปัตย์
2พรเทพ วิสุทธิ์วัฒนศักดิ์พรรคเพื่อไทย
3ประมวล พงศ์ถาวราเดชพรรคประชาธิปัตย์
เพชรบุรี1กฤษณ์ แก้วอยู่พรรคพลังประชารัฐ ลาออก 15 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
2สาธิต อุ๋ยตระกูลพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 24 กุมภาพันธ์ 2566 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
3สุชาติ อุสาหะพรรคพลังประชารัฐ ลาออก 16 ธันวาคม 2565 / ไม่มีการเลือกตั้งซ่อมในช่วง 180 วันก่อนสภาชุดนี้ครบวาระตามกฎหมาย[b]
ราชบุรี1กุลวลี นพอมรบดีพรรคพลังประชารัฐ
2บุญยิ่ง นิติกาญจนาพรรคพลังประชารัฐ
3ปารีณา ไกรคุปต์พรรคพลังประชารัฐ หยุดปฏิบัติหน้าที่ 25 มีนาคม 2564 / พ้นจากตำแหน่งตามคำพิพากษาศาลฎีกา[181]
ชัยทิพย์ กมลพันธ์ทิพย์พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งซ่อม
4อัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์พรรคประชาธิปัตย์
5บุญลือ ประเสริฐโสภาพรรคภูมิใจไทย

การเปลี่ยนแปลงจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

พรรคการเปลี่ยนแปลงจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
24 พ.ค. 6229 พ.ค. 62[d]6 ก.ย. 62[e]23 ต.ค. 62[f]22 ธ.ค. 62[g]8 ม.ค. 63[h]28 ม.ค. 63[i]21 ก.พ. 63[j]4 มี.ค. 63[k]21 มี.ค. 6320 มิ.ย. 63[l]21 ก.ค. 63[m]28 ต.ค. 637 มี.ค. 64[n]6 ต.ค. 64[o]12 ต.ค. 64[p]11 พ.ย. 64[q]1 ธ.ค. 648 ธ.ค. 6422 ธ.ค. 6419 ม.ค. 65[r]14 ก.พ. 65 [s]28 ก.พ. 65[t]29 มี.ค. 65[u]8 เม.ย. 65 [v]19 ต.ค. 65[w]
เพื่อไทย136136136136135135135135135135134134134134134132132132132132132132132133133133
พลังประชารัฐ115116117117118119119119119119120121121122122122122123123122101101101101100100
ภูมิใจไทย5151515151525252616161616161616162626262626565656565
ก้าวไกล5454545353525252525252525251515151
ประชาธิปัตย์5253535353535252525252525252525252505051515151515151
เศรษฐกิจไทย---------------------1818181818
ชาติไทยพัฒนา1010101111111111111212121212121212121212121212121212
เสรีรวมไทย1010101010101010101010101010101010101010101010101010
ประชาชาติ77777777777777777777777777
เศรษฐกิจใหม่66666666666666666666666666
เพื่อชาติ55555555555555566666666666
รวมพลัง555555555555555555555555
พลังท้องถิ่นไท33333555555555555555555555
ชาติพัฒนากล้า33333333344444444444444444
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย22222222222222222222222222
พลังปวงชนไทย11111111111111111111111111
พลังชาติไทย11111111111111111111111111
ประชาภิวัฒน์1111111111111111111111111
ไทยศรีวิไลย์11111111111111111111111111
เพื่อชาติไทย11111111111111111111111111
ครูไทยเพื่อประชาชน11111111111111111111111111
พลเมืองไทย11111111111111111111111111
ประชาธิปไตยใหม่11111111111111111111111111
พลังธรรมใหม่11111111111111111111111111
ไทรักธรรม11111111111111111111-
ประชาธรรมไทย11111111111111111--
ประชานิยม11111111111----
อนาคตใหม่8081[x]8180767676-----
ประชาชนปฏิรูป11------
ไม่สังกัดพรรค46556-222---
รวม498500500500500500500489489489489489488487487487487485484486486486486486486485
ว่าง2-111111111112131313131516141414141415

หมายเหตุ:

  • ภาระทางการเมืองและกฎหมายของรัฐบาลในสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ มีดังนี้[182]
    • ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ต้องใช้เสียงข้างมากของสภาผู้แทนราษฎรร่วมกับวุฒิสภา (อย่างน้อย 376 เสียง)
    • ลงมติแก้ไขรัฐธรรมนูญ ต้องใช้เสียงข้างมากของสภาผู้แทนราษฎรร่วมกับวุฒิสภา (อย่างน้อย 376 เสียง) โดยสมาชิกวุฒิสภาต้องเห็นชอบไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 (อย่างน้อย 84 เสียง)
    • ลงมติผ่านร่างกฎหมาย ต้องใช้เสียงข้างมาก (อย่างน้อย 251 เสียง)
    • ลงมติผ่านงบประมาณ ต้องใช้เสียงข้างมาก (อย่างน้อย 251 เสียง)
    • ลงมติในการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ต้องใช้เสียงข้างมาก (อย่างน้อย 251 เสียง)

ความคืบหน้าของฝ่ายเสียงข้างมาก

วันที่เหตุการณ์ฝ่ายข้างมากรัฐบาลพปชร.ปชป.ภท.ชทพ.รปช.ชพ.พทท.ศม.รป.พรรคเล็กรวมรัฐบาลพท.อนค.กก.สร.ปช.พพช.พลท.รวมฝ่ายค้านศม.ไม่ระบุฝ่ายว่าง
24 พฤษภาคม 2562เปิดรัฐสภา7115525110533-21125213680-10751245602
29 พฤษภาคม 2562เลือกตั้งซ่อมเชียงใหม่ เขต 87116535110533-21025313681-10751246600
23 ตุลาคม 2562เลือกตั้งซ่อมนครปฐม เขต 510117535111533-21025513680-10751245600
13 พฤศจิกายน 2562คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญให้ ส.ส. พรรคเพื่อไทยพ้นจากตำแหน่ง 1 คน[183]11117535111533-21025513580-10751244601
16 ธันวาคม 2562พรรคอนาคตใหม่มีมติขับ ส.ส. 4 คน[184]15117535111533-21025513576-10751240641
22 ธันวาคม 2562เลือกตั้งซ่อมขอนแก่น เขต 716118535111533-21025613576-10751240640
8 มกราคม 2563สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ถูกขับออกจากพรรคอนาคตใหม่ มีสังกัดใหม่ครบทั้ง 4 คน20119535211535-21026013576-10751240600
28 มกราคม 2563กกต.ปรับสูตรคำนวณสส.บัญชีรายชื่อใหม่ หลังคำสั่งศาลฎีกาถอดถอนสิทธิรับสมัครของ ส.ส. พรรคประชาธิปัตย์ 1 คน[y]20119525211535-21126013576-10751240600
3 กุมภาพันธ์ 2563มติคณะกรรมการบริหารพรรคเศรษฐกิจใหม่ออกจากพรรคร่วมฝ่ายค้าน [185]แต่มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์ แถลงข่าวยังอยู่ในฝ่ายค้าน และขอแยกทางกับพรรค[186]30119525211535-21126513576-10751235[z]600
14 มีนาคม 2563ส.ส. ที่เคยสังกัดพรรคอนาคตใหม่ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกล,พรรคภูมิใจไทย,พรรคชาติไทยพัฒนา[187]และพรรคชาติพัฒนา [188]58119526112545-211271135-54107512136011
25 พฤษภาคม 2563พรรคเศรษฐกิจใหม่เข้าร่วมรัฐบาล[189] ยกเว้นมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์631195261125455211276135-54107512130011
20 มิถุนายน 2563เลือกตั้งซ่อมลำปาง เขต 4641205261125455211277134-54107512120011
28 ตุลาคม 2563คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญให้ ส.ส. พรรคก้าวไกลพ้นจากตำแหน่ง 1 คน661205261125455211277134-53107512110012
7 ตุลาคม 2564ส.ส.พรรคก้าวไกล ลาออกจากพรรค 1 คน671205261125455211277134-52107512100013
11 พฤศจิกายน 2564ส.ส.ที่ถูกขับออกจากพรรคเพื่อไทย มีสังกัดใหม่ครบทั้ง 2 คน701205262125455211278132-52107612090013
8 ธันวาคม 2564ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้ 5 ส.ส. กปปส.พ้นจากการเป็นสส.681205062125455211276132-52107612090015
16 มกราคม 2565เลือกตั้งซ่อม ชุมพร เขต 1 และสงขลา เขต 6681205262125455211278132-52107612100015
  รัฐบาลผสม
  ฝ่ายค้าน


การเลือกตั้งซ่อม

ประชากรศาสตร์

อายุเฉลี่ยของ ส.ส. 498 คนที่ กกต. ประกาศรายชื่ออยู่ที่ 52 ปี ส.ส. อายุน้อยที่สุด คือ เพชรชมพู กิจบูรณะ (25 ปี) (พรรครวมพลังประชาชาติไทย)[194] และ ส.ส. อายุมากที่สุด คือ ชัย ชิดชอบ (91 ปี) (พรรคภูมิใจไทย)[195] แบ่งเป็นเพศชาย 418 คน เพศหญิง 76 คน และผู้มีความหลากหลายทางเพศ (LGBT) 4 คน[195]

ส.ส. 309 คน คิดเป็นร้อยละ 62 ของสภา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท รองลงมาคือจบปริญญาตรี 127 คน คิดเป็นร้อยละ 25, ปริญญาเอก 48 คน คิดเป็นร้อยละ 10 และต่ำกว่าปริญญาตรี 14 คน คิดเป็นร้อยละ 3[195] ในสภาชุดดังกล่าว สมาชิกไม่เคยได้รับเลือกตั้ง 250 คน[195]

"ส.ส. เอื้ออาทร"

ส.ส. เอื้ออาทร เป็นชื่อเรียก ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ 11 คน จากพรรคการเมืองขนาดเล็กซึ่งได้คะแนนเสียงต่ำกว่า 71,000 คะแนนจำนวน 11 พรรค ที่ได้รับการจัดสรรมาตามสูตรคำนวณ ส.ส. ของ กกต.[196] หลังการประกาศรับรอง ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ได้เกิดกระแสการวิพากษ์วิจารณ์และการติดแฮชแท็กบนทวิตเตอร์[197][198] แต่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตและพรรคการเมืองบางพรรคเห็นว่า อาจขัดต่อกฎหมาย และเอื้อประโยชน์ให้แก่พวกพ้อง[199] จึงเป็นที่มาของชื่อดังกล่าว

เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ตัวแทนพรรคการเมืองขนาดเล็ก 11 พรรคได้แถลงมติร่วมกันยืนยันสนับสนุนพรรคพลังประชารัฐเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล และลงคะแนนให้พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรีอีกสมัย[200]

ส.ส. เอื้ออาทรทั้ง 11 คน มีรายชื่อดังนี้

  1. ปรีดา บุญเพลิง (ครูไทยเพื่อประชาชน)
  2. พีระวิทย์ เรื่องลือดลภาค (ไทรักธรรม) (เริ่มปฏิบัติหน้าที่อีกครั้งวันที่ 28 มกราคม 2563 หลังจากพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2562)
  3. มงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ (ไทยศรีวิไลย์)
  4. พิเชษฐ สถิรชวาล (ประชาธรรมไทย)
  5. สุรทิน พิจารณ์ (ประชาธิปไตยใหม่)
  6. พลตำรวจเอก ยงยุทธ เทพจำนงค์ (ประชานิยม)
  7. สมเกียรติ ศรลัมพ์ (ประชาภิวัฒน์)
  8. ไพบูลย์ นิติตะวัน (ประชาชนปฏิรูป)
  9. ระวี มาศฉมาดล (พลังธรรมใหม่)
  10. คฑาเทพ เตชะเดชเรืองกุล (พลังไทยรักไทย)
  11. ศิลัมพา เลิศนุวัฒน์ (พลเมืองไทย)


ผู้ดำรงตำแหน่ง

การลงมติเลือกผู้ดำรงตำแหน่ง

ตำแหน่งชื่อพรรคคะแนนเสียง
ประธานสภาผู้แทนราษฎรชวน หลีกภัยประชาธิปัตย์258
สมพงษ์ อมรวิวัฒน์เพื่อไทย235
งดออกเสียง
1
บัตรเสีย
0
รวม
496
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งสุชาติ ตันเจริญพลังประชารัฐ248
เยาวลักษณ์ วงษ์ประภารัตน์อนาคตใหม่246
งดออกเสียง
0
บัตรเสีย
0
รวม
494
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สองศุภชัย โพธิ์สุภูมิใจไทย256
ประสงค์ บูรณ์พงศ์เสรีรวมไทย239
งดออกเสียง
0
บัตรเสีย
0
รวม
495

คณะกรรมาธิการ

คณะกรรมาธิการสามัญ

ชื่อคณะกรรมาธิการประธานคณะกรรมาธิการพรรค
คณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชนปิยบุตร แสงกนกกุล
สิระ เจนจาคะ
ศุภชัย ใจสมุทร
ภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎรอนันต์ ผลอำนวยพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการกิจการศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุนจิรายุ ห่วงทรัพย์เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการกีฬาบุญลือ ประเสริฐโสภาภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลายทางเพศมุกดา พงษ์สมบัติเพื่อไทย
คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาหนี้สินแห่งชาติวุฒิพงษ์ นามบุตร
บุณย์ธิดา สมชัย
ธีรภัทร พริ้งศุลกะ
ประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์กันตวรรณ ตันเถียรประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการการคมนาคมโสภณ ซารัมย์ภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ กิจการชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศพลโทพงศกร รอดชมภู
มนูญ สิวาภิรมย์รัตน์
เศรษฐกิจใหม่
คณะกรรมาธิการการคุ้มครองผู้บริโภคมานะ โลหะวณิชย์เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคาร สถาบันการเงินและตลาดการเงินสมศักดิ์ พันธ์เกษม
สมศักดิ์ คุณเงิน
พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการการต่างประเทศศราวุธ เพชรพนมพรเพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการการตำรวจนิโรธ สุนทรเลขาพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณไชยา พรหมาเพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการการทหารพลเอกสมชาย วิษณุวงศ์พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยวสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุลภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพิธา ลิ้มเจริญรัตน์
อภิชาติ ศิริสุนทร
ก้าวไกล
คณะกรรมาธิการการปกครองไพจิต ศรีวรขานเพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการกระจายอำนาจ การปกครองส่วนท้องถิ่น และการบริหารราชการรูปแบบพิเศษซูการ์โน มะทาประชาชาติ
คณะกรรมาธิการการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและยาเสพติดนิพันธ์ ศิริธรพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการการป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและสาธารณภัยวุฒิชัย กิตติธเนศวร
องอาจ วงษ์ประยูร
ยุทธพงศ์ จรัสเสถียร
เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบพลตำรวจเอกเสรีพิศุทธ์ เตมียเวสเสรีรวมไทย
คณะกรรมาธิการการพลังงานกิตติกร โล่ห์สุนทรเพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชนปดิพัทธ์ สันติภาดา
ณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์
ก้าวไกล
คณะกรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจศิริกัญญา ตันสกุลก้าวไกล
คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญาอันวาร์ สาและ
สาคร เกี่ยวข้อง
ประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการการแรงงานสุเทพ อู่อ้นก้าวไกล
คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรมอัครวัฒน์ อัศวเหมพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาราคาผลิตผลเกษตรกรรมณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณชาติไทยพัฒนา
คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมสุชาติ อุสาหะพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการการศึกษานพคุณ รัฐผไทเพื่อไทย
คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคมรังสิมา รอดรัศมีประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการการสาธารณสุขปกรณ์ มุ่งเจริญพรภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการการสื่อสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกัลยา รุ่งวิจิตรชัยพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรมวรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์เพื่อไทย

คณะกรรมาธิการวิสามัญ

ชื่อคณะกรรมาธิการประธานคณะกรรมาธิการพรรค
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ....วิเชียร ชวลิตพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญยกร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ....วิเชียร ชวลิตพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ำวีระกร คำประกอบพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขยายสัญญาสัมปทานทางด่วนและรถไฟฟ้า (บีทีเอส) สภาผู้แทนราษฎรวีระกร คำประกอบพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการยกร่างข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการ พ.ศ. ....วันมูหะมัดนอร์ มะทาประชาชาติ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการควบคุมการใช้สารเคมีในภาคเกษตรกรรม สภาผู้แทนราษฎรชวลิต วิชยสุทธิ์เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สภาผู้แทนราษฎรอุตตม สาวนายนพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการบริหารจัดการลุ่มน้ำทั้งระบบร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่าพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการลอบประทุษร้ายประชาชนพรชัย ตระกูลวรานนท์พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาคคณะรัฐมนตรี
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางในการบริหารจัดการการชำระหนี้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาชินวรณ์ บุณยเกียรติประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่อนันต์ ผลอำนวยพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาการข่มขืนกระทำชำเราและการล่วงละเมิดทางเพศโกวิทย์ พวงงามพลังท้องถิ่นไท
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎรอธิรัฐ รัตนเศรษฐพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการใช้กัญชา กัญชง และกระท่อมอย่างเป็นระบบ สภาผู้แทนราษฎรพลเอก สมชาย วิษณุวงศ์พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่าพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาที่ดินและการออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดินประภัตร โพธสุธนชาติไทยพัฒนา
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการประกอบธุรกิจออนไลน์และการทำธุรกรรมผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สภาผู้แทนราษฎรสันติ พร้อมพัฒน์[201]พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาติดตาม ตรวจสอบ การใช้เงินตามพระราชกำหนด 3 ฉบับ เพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยาและฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019ไพบูลย์ นิติตะวันพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสำหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP)วีระกร คำประกอบพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาการบังคับใช้ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครและหามาตรการแก้ไขปัญหาการบำรุงรักษาที่ดิน การพัฒนาทรัพย์สินที่ประชาชนทั่วไปใช้สอยร่วมกันในพื้นที่ส่วนบุคคลและพื้นที่เอกชนทั่วประเทศสรอรรถ กลิ่นประทุมภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณามีมติให้รับฟังความคิดเห็นของนักเรียน นิสิต นักศึกษา เยาวชน และประชาชนภราดร ปริศนานันทกุลภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแก้ไขปัญหาการออกประทานบัตรเหมืองแร่และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการทำเหมืองแร่ประทวน สุทธิอำนวยเดชพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาและแนวทางการบริหารจัดการปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบทัศนียา รัตนเศรษฐพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหายาเสพติดแนวทางการจัดตั้งศูนย์บำบัดยาเสพติด การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างเป็นระบบพลตำรวจเอก ยงยุทธ เทพจำนงค์ประชานิยม
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาการถ่ายโอนถนนทางหลวงชนบทให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นวีระกร คำประกอบพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาคลื่นทะเลกัดเซาะชายฝั่งและการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลอย่างเป็นระบบ สภาผู้แทนราษฎรพิมพ์ภัทรา วิชัยกุลประชาธิปัตย์
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการบริหารจัดการปาล์มน้ำมันอย่างเป็นระบบวีระกร คำประกอบพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาอุปสรรคในการจัดบริการสาธารณะ กิจกรรมสาธารณะ และหาแนวทางในการแก้ไขเรื่องการถ่ายโอนภารกิจด้านการพัฒนาแหล่งน้ำให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบุญสิงห์ วรินทร์รักษ์พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาและแก้ไขปัญหาช้างป่าสรวุฒิ เนื่องจำนงค์พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการจัดระเบียบสายไฟฟ้า สายสื่อสาร และการบริหารจัดการไฟฟ้าส่องสว่างอย่างทั่วถึงทั้งประเทศภิญโญ นิโรจน์พลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาติดตามและตรวจสอบการใช้จ่ายเงินจากการกู้เงินตามพระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคม จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพิ่มเติม พ.ศ. 2564สรอรรถ กลิ่นประทุมภูมิใจไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการเปิดสถานบันเทิงแบบครบวงจร (Entertainment Complex) การจัดเก็บรายได้และภาษีจากธุรกิจกาสิโนถูกกฎหมาย และมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาบ่อนการพนันผิดกฎหมาย การแพร่ระบาดของตู้เกมพนันไฟฟ้าและการพนันออนไลน์อธิรัฐ รัตนเศรษฐพลังประชารัฐ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบกรณีการควบรวมกิจการโทรคมนาคม ระหว่าง True และ Dtac และการค้าปลีก-ค้าส่งนาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ เพื่อไทย
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาปัญหาการแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร และศึกษาแนวทางช่วยเหลือประชาชนจากปัญหาราคาสินค้าอุปโภคบริโภคปรับตัวสูงขึ้นประภัตร โพธสุธน ชาติไทยพัฒนา
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สภาผู้แทนราษฎรอาคม เติมพิทยาไพสิฐคณะรัฐมนตรี

ฉายารัฐสภา

ตำแหน่งพ.ศ.2562[202]พ.ศ.2563[203]พ.ศ.2564[204]พ.ศ.2565[205]
ดาวเด่นปิยบุตร แสงกนกกุลสุทิน คลังแสงชลน่าน ศรีแก้วไม่มีผู้ใดเหมาะสม
ดาวดับปารีณา ไกรคุปต์วิสาร เตชะธีราวัฒน์วิรัช รัตนเศรษฐมงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์
ฉายาสภาผู้แทนราษฎรดงงูเห่าปลวกจมปลักสภาอับปาง3 วันหนี 4 วันล่ม
ฉายาวุฒิสภาสภาทหารเกณฑ์สภาปรสิตผู้เฒ่าเฝ้ามรดก (คสช.)ตรา ป.
ประธานสภาผู้แทนราษฎรมีดโกนขึ้นสนิมครูใหญ่ไม้เรียวหักชวนพลังท่อมชวน ซวนเซ
ประธานวุฒิสภาค้อนยางหัวตอ รอออเดอร์ร่างทรงพรเพชร พักก่อน
ผู้นำฝ่ายค้านขนมจีนไร้น้ำยาสุทิน คลังแสง?สมพงษ์ตกสวรรค์หมอ(ง) ชลน่าน
(สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ ดำรงตำแหน่ง)(ชลน่าน ศรีแก้ว ดำรงตำแหน่ง)
เหตุการณ์แห่งปีสภาล่มการแก้ไขรัฐธรรมนูญแผนกบฎการเมืองล้มนายกรัฐมนตรีเกมพลิกสูตรหาร 100
คู่กัดแห่งปีปารีณา ไกรคุปต์
และ
พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์
เตมียเวส
สิระ เจนจาคะ
และ
มงคลกิตติ์
สุขสินธารานนท์
เสรี สุวรรณภานนท์
และ
วิโรจน์ ลักขณาอดิศร
กิตติศักดิ์ รัตนวราหะ
และ
รังสิมันต์ โรม
วาทะแห่งปีตัดพี่ตัดน้อง"มันคือแป้ง"
(ธรรมนัส พรหมเผ่า)
"วัคซีนเต็มแขน"
(อนุทิน ชาญวีรกูล)
"เรื่องปฏิวัติผมไม่ได้เกี่ยวข้อง
นี่ครับคนปฏิวัติ..ท่านนายกฯ คนเดียว"
(ประวิตร วงษ์สุวรรณ)

เชิงอรรถ

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง