ฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโก

ฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโก (อาหรับ: منتخب المغرب لكرة القدم; ฝรั่งเศส: Équipe du Maroc de football) ฉายา "ราชสีห์แห่งแอตลัส" (อาหรับ: أسود الأطلس / Irzem n Atlasi) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศโมร็อกโก ปัจจุบันมี วะลีด อัรร็อกรอกี เป็นผู้จัดการทีม

โมร็อกโก
ฉายาأسود الأطلس (Ousud Al-atlas, 'สิงโตแอตลาส')
เสือร้ายจากกาฬทวีป (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมราชสหพันธ์ฟุตบอลโมร็อกโก (FRMF)
สมาพันธ์ย่อยUNAF (แอฟริกาเหนือ)
สมาพันธ์CAF (แอฟริกา)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนวะลีด อัรร็อกรอกี
กัปตันรูมาน ซายิส
ติดทีมชาติสูงสุดนูรุดดีน เนย์เบ็ต (115)[1]
ทำประตูสูงสุดอะห์มัด ฟะร็อซ (36)[1]
สนามเหย้าหลายแห่ง
รหัสฟีฟ่าMAR
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 13 ลดลง 1 (4 เมษายน 2024)[2]
อันดับสูงสุด10 (เมษายน ค.ศ. 1998)
อันดับต่ำสุด95 (กันยายน ค.ศ. 2010)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก 3–3 อิรัก ธงชาติอิรัก
(เบรุต ประเทศเลบานอน; 19 ตุลาคม ค.ศ. 1957)
ชนะสูงสุด
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก 13–1 ซาอุดีอาระเบีย ธงชาติซาอุดีอาระเบีย
(กาซาบล็องกา, ประเทศโมร็อกโก; 6 กันยายน ค.ศ. 1961)
แพ้สูงสุด
ธงชาติฮังการี ฮังการี 6–0 โมร็อกโก ธงชาติโมร็อกโก
(โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น; 11 ตุลาคม ค.ศ. 1964)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม6 (ครั้งแรกใน 1970)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 4 (2022)
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์
เข้าร่วม18 (ครั้งแรกใน 1972)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1976)
อาหรับคัพ
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 1998)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (2012)
African Nations Championship
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 2014)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (2018, 2020)
เว็บไซต์frmf.ma

โมร็อกโกเคยชนะเลิศแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ในปี 1976 และยังเป็นทีมแรกจากแอฟริกาที่เป็นแชมป์กลุ่มในฟุตบอลโลก ซึ่งเกิดขึ้นในปี 1986 โดยพวกเขาอยู่กลุ่มเดียวกับโปรตุเกส, โปแลนด์ และอังกฤษ และยังเป็นทีมแรกของแอฟริกาที่ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออกของรายการ โดยพวกเขาตกรอบแพ้เยอรมนีตะวันตก (รองแชมป์หลังจบการแข่งขัน) 1–0 ในปีเดียวกัน ต่อมาในปี 1998 โมร็อกโกตกรอบแบ่งกลุ่มหลังจากที่นอร์เวย์เอาชนะบราซิล และในปี 2018 โมร็อกโกผ่านรอบคัดเลือกได้ไปแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายเป็นครั้งแรกในรอบ 20 ปี แม้ว่าสุดท้ายแล้ว ทีมจะตกรอบแบ่งกลุ่มด้วยการไม่ชนะใครก็ตาม แต่ในฟุตบอลโลก 2022 โมร็อกโกสร้างประวัติศาสตร์เป็นชาติแรกจากแอฟริกาและอาหรับที่สามารถผ่านเข้าถึงรอบรองชนะเลิศได้สำเร็จ[3][4]

สนามแข่งขัน

อดีต
ปัจจุบัน
  • สนามกีฬามาร์ราคิช (มาร์ราคิช)
  • สนามกีฬาอัดราร์ (อากาดีร์)
  • สนามกีฬาอิบัน บาเทาทา (แทนเจียร์)
  • สนามกีฬาแฟ็ส (แฟ็ส)

รายชื่อผู้เล่น

รายชื่อผู้เล่น 26 คนที่ถูกเรียกตัวในการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2022

0#0ตำแหน่งผู้เล่นวันเกิด (อายุ)ลงเล่นประตูสโมสร
11GKยาซีน บูนู5 เมษายน ค.ศ. 1991 (อายุ 31 ปี)460 เซบิยา
22DFอัชร็อฟ ฮะกีมี4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1998 (อายุ 24 ปี)548 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
32DFนุศ็อยร์ มัซรอวี14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1997 (อายุ 25 ปี)152 ไบเอิร์นมิวนิก
43MFซุฟยาน อัมรอบัฏ21 สิงหาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี)390 ฟีออเรนตีนา
52DFนายิฟ อะกัรด์30 มีนาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี)221 เวสต์แฮมยูไนเต็ด
62DFรอแม็ง ซาอิส (กัปตัน)26 มีนาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี)661 เบชิกทัช
73MFฮะกีม ซิยาช19 มีนาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี)4318 เชลซี
83MFอิซซุดดีน อูนาฮี19 เมษายน ค.ศ. 2000 (อายุ 22 ปี)102 อ็องเฌ
94FWอับดุรร็อซซาก ฮัมดุลลอฮ์17 ธันวาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 31 ปี)186 อัลอิตติฮาด
103MFอะนัส อัซซะรูรี7 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 (อายุ 22 ปี)10 เบิร์นลีย์
114FWอับดุลฮะมีด ศอบีรี28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 (อายุ 25 ปี)21 ซัมป์โดเรีย
121GKมุนีร มุฮัมมะดี10 พฤษภาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 33 ปี)430 อัลวะห์ดะฮ์
133MFอิลยาส ชาอิร30 ตุลาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 25 ปี)111 ควีนส์พาร์กเรนเจอส์
143MFซะกะรียา อะบูคลาล18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000 (อายุ 22 ปี)122 ตูลูซ
153MFซะลีม อะมัลลาห์15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี)244 สต็องดาร์ลีแยฌ
164FWอับเด อัซซัลซูลี17 ธันวาคม ค.ศ. 2001 (อายุ 20 ปี)20 โอซาซูนา
173MFซุฟยาน บูฟาล17 กันยายน ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี)326 อ็องเฌ
182DFญะวาด อัลยะมีก29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 (อายุ 30 ปี)122 เรอัลบายาโดลิด
194FWยูซุฟ อันนุศ็อยรี1 มิถุนายน ค.ศ. 1997 (อายุ 25 ปี)5015 เซบิยา
202DFอัชร็อฟ ดารี6 พฤษภาคม ค.ศ. 1999 (อายุ 23 ปี)40 แบร็สต์
214FWวะลีด ชัดดีเราะฮ์22 มกราคม ค.ศ. 1998 (อายุ 24 ปี)20 บารี
221GKอะห์มัด ริฎอ อัตตักนาวุตี5 เมษายน ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี)30 วิดาด
233MFบิลาล อัลค็อนนูศ10 พฤษภาคม ค.ศ. 2004 (อายุ 18 ปี)00 แค็งก์
242DFบัดร์ บานูน30 กันยายน ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี)30 กาตาร์
252DFยะห์ยา อะฏียะฮ์ อัลลอฮ์2 มีนาคม ค.ศ. 1995 (อายุ 27 ปี)20 วิดาด
263MFยะห์ยา ญับรอน18 มิถุนายน ค.ศ. 1991 (อายุ 31 ปี)50 วิดาด

สถิติการแข่งขัน

ฟุตบอลโลก

สถิติในฟุตบอลโลกสถิติในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก
ปีรอบอันดับแข่งชนะเสมอแพ้ได้เสียแข่งชนะเสมอแพ้ได้เสีย
1930ไม่ได้เข้าร่วมไม่ได้เข้าร่วม
1934
1938
1950
1954
1958
1962ไม่ผ่านรอบคัดเลือก722378
1966ถอนตัวถอนตัว
1970รอบแบ่งกลุ่ม14th30122610442117
1974ไม่ผ่านรอบคัดเลือก104331213
1978202022
1982832356
1986รอบ 16 ทีมสุดท้าย11th4121328521121
1990ไม่ผ่านรอบคัดเลือก613245
1994รอบแบ่งกลุ่ม23rd30032510721194
1998รอบแบ่งกลุ่ม18th3111556510142
2002ไม่ผ่านรอบคัดเลือก10631113
200610550177
2010103341413
2014623198
2018รอบแบ่งกลุ่ม27th3012248431131
2022อันดับที่ 44th7322658710253
ทั้งหมดอันดับที่ 46/22235711202711958392217583

แอฟริกาคัพออฟเนชันส์

  • ชนะเลิศ: 1976
  • รองชนะเลิศ: 2004
  • อันดับที่สาม: 1980
  • อันดับที่สี่: 1986, 1988

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง